กำจร สถิรกุล "ใครจะเตะผมก็เชิญ"
การล่มสลายของสถาบันการเงินเกิดขึ้นในยุคสมัยของ กำจร สถิรกุลมากที่สุด
จนหลายคนวิจารณ์เขาว่า เป็นผู้ว่าการแบงก์ชาติที่ไม่กล้าตัดสินใจแก้ปัญหาแบบเฉียบขาด
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2530)
ประเทศไทยต้องการผู้ว่าแบงก์ชาติแบบไหน?
ตลอด 45 ปีที่ธนาคารแห่งประเทศไทยดำเนินงานในฐานะเป็นธนาคารกลางงประเทศ
มีการพูดกันมากถึงศักยภาพและความเป็นอิสระของสถาบันแห่งนี้ ในแง่มุมที่ยอมรับในขีดความสามารถของบุคคลตั้งแต่ระดับผู้ว่าการลงมาถึงเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติงานที่สูงกว่าสถาบันการเงินอื่นๆ
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2530)
แบงก์แหลมทอง-สหธนาคารร่องรอยประวัติศาสตร์และทางแยก
นักประวัติศาสตร์ธุรกิจมักจะสรุปความเห็นสอดคล้องต้องกันว่า ยามใดที่เกิดวิกฤตการณ์ความขัดแย้งที่ธนาคารแหลมทองแล้ว
มักจะติดตามมาด้วยสหธนาคาร วนเวียนเช่นนี้เรื่อยไป แม้สงครามล่าสุดในธนาคารแหลมทองใกล้ยุตินี้นั้น
เรื่องราวในสหธนาคารก็ทำท่าจะใกล้จุดไคลแม็กซ์เข้าไปทุกที
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2530)
บัณฑูร ล่ำซำ ผู้มีเอกภาพในความขัดแย้ง
บัณฑูร ล่ำซำ เกิดเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2496 ปัจจุบันอายุ 34 ปี เขาเป็นลูกชายคนเดียวของบัญชา
ล่ำซำ ประธานกรรมการและประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (CEO) ธนาคารกสิกรไทย
ซึ่งต้นตระกูลเป็นจีน และเข้ามาค้าขายในประเทศไทยตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและม.ร.ว.สำอางวรรณ
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2530)
"ศรีนคร" กับ "มหานครทรัสต์"
วิเชียร เตชะไพบูลย์ กรรมการรองผู้จัดการ ธนาคารศรีนครแถลงถึงกรณีที่มีข่าวว่า
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2530)
รวมแบงก์สยาม-กรุงไทย วุ่นไม่จบ
วารี หะวานนท์ ประธานกรรมการธนาคารสยามได้เข้าพบอรัญ ธรรมโน ประธานคณะกรรมการกำกับการรวมธนาคารกรุงไทยและธนาคารสยาม
เพื่อขอคำชี้แจงในปัญหาเรื่องการบริหารงานบุคคลระหว่างทั้ง 2 ธนาคารภายหลังการรวมตัวกันแล้วเพราะขณะนี้มีปัญหามาก
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2530)