การฟื้นฟูฐานะ "เอื้อวิทยา"
แบงก์กรุงเทพฯพาณิชย์การตัดสินใจเข้าไปฟื้นฟูกิจการบริษัทเอื้อวิทยาฯที่มีหนี้สินอยู่
500 ล้านบาทโดยถือหุ้นใหญ่ 75% และควบคุมการบริหารทั้งหมดการฟื้นฟูได้เริ่มอย่างจริงจังเมื่อเดือนมีนาคม
2531
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2532)
ขายบีเอไฟแนนซ์ยังไงก็ต้องมีวันนี้ของแบงก์อเมริกา
ในอดีตที่รุ่งเรืองเมื่อหลายปีก่อน แบงก์อเมริกาเคยยืนอยู่ในแถวหน้าสุดของการจัดอันดับธนาคารชั้นนำในสหรัฐฯ
วัดจากขนาดของสินทรัพย์ แต่หลังจากเกิดวิกฤติการณ์หนี้เสียของประเทศในโลกที่สามเมื่อต้นทศวรรษที่
80 แล้ว อันดับของแบงก์อเมริกาก็กลับถูกซิตี้คอร์ปและเชสแมนฮัตตันเซงหน้าไป
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2532)
สุธี สิงห์เสน่ห์กับภารกิจใหญ่ที่บรรษัทฯ
บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยในหนึ่งปีที่ผ่านมาตกอยู่ในภาวะความหวั่นไหวต่ออนาคตของตัวเองทั้ง
ๆ ที่ตัวเลขสวย ๆ ของกำไรจากการดำเนินงานในแต่ละปีน่าจะเป้ฯมาตรวัดประสิทธิภาพการบริหารงานได้ว่าไม่มีปัญหา
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2532)
ปล่อยเสรีดอกเบี้ยเงินฝากมาตรการบีบคั้นธนาคารพาณิชย์
การประกาศยกเลิกเพดานอัตราดอกเบี้ยเงินฝากระยะยาวเกิน 1 ปีขึ้นไป ของกระทรวงการคลังเป็นเรื่องที่สวนทางกับความต้องการของธนาคารแห่งประเทศไทยและธนาคารพาณิชย์จนทำให้เกิดความขัดแย้งกันอยู่พักหนึ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2532)
ทุบทิ้งกรุงไทย
"กลางปีนี้ ถ้าไม่มีอะไรเป็นอุปสรรค กรุงไทยก็จะเข้าตลาดหุ้นในกระดาน
1 ซึ่งมีความหมายถึงวาระการเปลี่ยนแปลงในบางส่วนของแบงก์แห่งนี้จะมาถึงในไม่ช้าไม่นานนี้
พนัส ภุชงค์และเธียรชัย ที่มีประวัติศาสตร์อยู่กับแบงก์แห่งนี้ในฐานะผู้บริหารและกรรมการระดับสูงมาระยะเวลาหนึ่ง
คงอยู่ในสถานะที่ไม่สบายนัก
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2532)
วิธีปล่อยกู้แบบตามใจ (ลูกหนี้)
ธนาคารกรุงไทยได้ตัดสินใจฟ้องร้องตามใจ ขำภโต ไปแล้ว 4 คดีด้วยข้อหา "ความผิดต่อพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์กรหรือหน่วยงนของรัฐ
พ.ศ. 2502 แถมด้วยข้อหายักยอกอีกกระทงอันเกี่ยวเนื่องจากการปล่อยเงินกู้ให้กับกลุ่มพันเอกพล
เริงประเสริฐวิทย์ 2 คดีและกิจการของสุระ จันทร์ศรีชวาลา อีก 2 คดี
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2532)
สงครามยึดแบงก์สหธนาคาร
เกมการช่วงชิงอำนาจบริหารที่สหธนาคารเริ่มปะทุมาตั้งแต่เมื่อต้นปี 2528
แต่เหตุการณ์ไม่ได้รุนแรงจนถึงขั้นแตกหัก ทั้งนี้เพราะได้มีการประนีประนอมจัดสรรแบ่งอำนาจกันได้ระดับหนึ่ง
แต่นับจากวันนั้นเรื่อยมาทุกฝ่ายก็รู้กันเป็นนัยว่า ในไม่ช้าจะต้องเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ขึ้นเป็นแน่
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2532)