Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article

industry
company
people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ272  
Positioning48  
ผู้จัดการรายวัน411  
ผู้จัดการรายสัปดาห์76  
PR News462  
Total 1193  

Listed Company
Manager Lists
 
Industry > Banking and Finance

Subcategories
Banking
Financing


นิตยสารผู้จัดการ (181 - 190 of 272 items)
ได้น้ำเลี้ยงจากรัฐเต็มคราบ เครดิตลีอองแนส์ สยายปีกคลุมโลก ในรอบหลายปีที่ผ่านมา บรรดาธนาคารฝรั่งเศสต่างถูกบีบให้ต้องคิดหนัก เกี่ยวกับบทบาทของตัวเองในทั่วโลก โดยเฉพาะเมื่อปี 1992 ยิ่งใกล้เข้ามา และภาวะการแข่งขันก็เด่นชัดขึ้นเรื่อย ๆ ยิ่งกว่านั้น ในห้วงคำนึงของผู้นำทางการเงินฝรั่งเศสก็ยังต้องครุ่นคิดถึงวิธีหามาตรการเพิ่มฐานเงินทุนให้แข็งแกร่งขึ้นให้ได้ 8% ตามกฎของบีไอเอส (BANK FOR INTERNATIONAL SETTLEMENTS)(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2534)
ประวัติศาสตร์การเมืองของแบงก์ฝรั่งเศส เพราะอยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐบาลฝรั่งเศสมาแสนนาน 3 แบงก์ยักษ์ใหญ่ของประเทศจึงผูกพันกับสามนโยบายอย่างใกล้ชิด สายสัมพันธ์แบบนี้มีสิทธิทำให้กิจการรุ้งเรืองหรือฟุบเพราะว่าขาดทุนยับก็ได้ จากรายงานของเชียร์สัน เลห์เมน แห่งอังกฤษ เมื่อเร็วนี้ได้ชี้ให้เห็นถึงเงือนปมทางประวัติศาสตร์ หลายอย่างด้วยกัน(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2534)
ติดลม 3,500 ล้านบาท ขายธนาคารสยาม เกือบ 4 ปี แล้วที่กระทรวงการคลังและธนาคารแห่งประเทศไทยสั่งให้รวมเอาธนาคารสยามเข้ากับธนาคารกรุงไทย โดยฝ่ายหลังรับเอาทรัพย์สินอาคารสถานที่ อุปกรณ์ เครื่องไม้เครื่องมือ และลูกค้าทั้งเงินฝาก และสินเชื่อดีๆ ไป คงทิ้งไว้แต่เครื่องพิมพ์ดีด โต๊ะ เก้าอี้ และพรมปูพื้นที่เก่าคร่ำคร่า ขาดกะรุ่งกะริ่ง ให้เป็นอนุสรณ์และที่ทำการเริ่งรัดติดตามหนี้สินที่ยังคั่งค้างอยู่ถึง 7,600 ล้านบาท(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2534)
รอดตายแล้ว แต่ยังห่างฝั่ง การคืนเงินซอฟต์โลนก่อนกำหนด 7 เดือนของแบงก์มหานคร ชี้ชัดว่าผู้บริหารแบงก์แห่งนี้สามารถแสดงให้ตลาดการเงินทั้งในและนอกประเทศรับรู้ว่า มหานครฟื้นตัวจากการเจ็บป่วยแทบเอาตัวไม่รอดจากปัญหาหนี้เสีย และการขาดทุนจากการปริวรรตเงินตราต่างประเทศประมาณ 7,762 ล้านบาทเมื่อ 5 ปีก่อนเรียบร้อยแล้ว(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2534)
งานที่ "หิน" ที่สุดในกรุงไทย พนัส สิมะเสถียรนำศิรินทร์จากการปิโตรเลียมมาอยู่ที่กรุงไทย เป็นภาระกิจที่หนักที่สุดของ ศิรินทร์ เพราะเขาต้องเผชิญกับวัฒนธรรมองค์กรที่ล้าหลังมานาน ขณะที่ผู้ใหญ่คาดหวังว่าเขาจะสามารถนำแบงก์ไปสู่การเป็นผู้นำตลาดการเงินสนองนโยบายการบริหารเงินของรัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท่ามกลางความสามารถ ในการทำกำไรที่อยู่ในระดับธนาคารชั้นนำ(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2534)
บุคลิกใหม่ของแบงก์ชาติ หลังจากที่วิจิตร สุพินิจ เป็นผู้ว่าการแบงก์ชาติได้ไม่นาน เขาก็มีนโยบายปรับปรุงระบบการบริหารทุนสำรองทางการที่มีอยู่ประมาณ 14 พันล้านดอลลาร์เพื่อความมั่นคง มีสภาพคล่องสูง และมีผลตอบแทนดี การลงทุนพัฒนาระบบ 38 ล้านบาท ขั้นแรกเพียงหวังเพื่อให้ทราบข้อมูลการเปลี่ยนแปลงตลาดการเงินและตลาดทุนที่รวดเร็วขึ้น(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2534)
สหรัฐฯ หัวใส พลิกแพลง การตีความ เปิดช่องให้แบงก์หลุดจากกฎ BIS ผู้ออกกฎด้านอุตสาหกรรมแบงก์ของสหรัฐฯ มาเหนือชั้นกว่า โดยอาศัยวิธีการตีความหมาย อัตราส่วนคุณภาพทุนจดทะเบียน แบบตามใจตนเอง จึงเปิดให้แบงก์สหรัฐฯ อาศัยประโยชน์ จากการตีความนี้เป็นข้อได้เปรียบเหนือแบงก์คู่แข่งทั่วโลก(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2534)
เมื่อแบงก์ทั่วโลกขาดเสถียรภาพ BIS จึงต้องเร่งกู้ความเชื่อมั่น Bank for international Sattlements BIS ได้ตกลงกันที่กรุงบราซิลเพื่อกำหนดให้สิ้นปี 1992 เป็นเส้นตายที่แบงก์ต่าง ๆ ทั่วโลก ต้องเร่ทำให้สัดส่วนทุนต่อสินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงไม่ต่ำกว่า 8% โดยอัตราส่วนทุนประเภทที่ 1 หรือทุนหลัก (core capital) ไม่ต่ำกว่า 42% การกำหนดองค์ประกอบของทุนประเภทที่1. ทุนประเภทที่ 2 และองค์ประกอบของการคำนวณ ความเสี่ยงคือ สาเหตุที่ทำให้มีการประชุมคณะกรรมการผู้ออกกฎด้านอุตสาหกรรมแบงก์ และผู้ออกข้อปฏิบัติต่าง ๆ ของบีไอเอส ที่กรุงบราเซล โดยมีปีเตอร์ คุ๊ก เป็นประธาน(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2534)
Market niche ต่างประเทศเราอยู่ที่เอเชีย ธุรกิจการเงินประเภทแบงก์พาณิชย์ นับวันจขะมีลักษณะความเป็นสากลมากขึ้น ตลาดการเงินที่อยู่ในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก จะถูกเชื่อมโยง ด้วยเครือข่ายเดียวกัน เพื่อสร้างความได้เปรียบในการช่วงชิงคุณภาพ ในการให้บริการแก่ธุรกิจการค้า และการลงทุนที่นับวัน จะแพร่ขยายไปทั่วโลก(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2534)
อัศวิน คงศิริ ผู้พลิกโฉม IFCT ในทศวรรษที่ 4!! อัศวิน คงศิริ ได้ชื่อว่า เป็นผู้จัดการทั่วไปคนแรกของบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ที่ก้าวขึ้นมาจากความเป็นลูกหม้อเก่าด้วยอายุการทำงานยาวนานถึง 15 ปีเต็ม(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2534)

Page: ..11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 ..





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us