Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article

industry
company
people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ272  
Positioning48  
ผู้จัดการรายวัน411  
ผู้จัดการรายสัปดาห์76  
PR News462  
Total 1193  

Listed Company
Manager Lists
 
Industry > Banking and Finance

Subcategories
Banking
Financing


นิตยสารผู้จัดการ (171 - 180 of 272 items)
"เปิดปูมแบงก์ฉาวโฉ่ระดับโลก 2 บุคคลผู้อยู่เบื้องหลังการก่อเกิดและล่มสลายของบีซีซีไอ" ลองนึกภาพธนาคารที่สามารถจะให้เงินกู้คุณเป็นจำนวนหลายล้านดอลลาร์ โดยไม่เรียกร้องให้ต้องจ่ายคืนนั่นก็คือ "แบงก์ ออฟ เครดิต แอนด์ คอมเมิร์ซ อินเตอร์เนชั่นแนล(บีซีซีไอ)" ธนาคารที่ถือเป็นโครงการระดับโลกอันมีเป้าหมายหนึ่งเดียว คือเพื่อทำให้เจ้าของธนาคารร่ำรวยอย่างมหาศาล(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2535)
"รายชื่อบุคคลสำคัญที่เกี่ยวข้องกับบีซีซีไอ" เกธ อาร์. พาราออน - เป็นผู้ดำเนินการธนาคารที่ก่อเรื่องฉาวโฉ่ในระดับโลกแห่งนี้ โดยเริ่มจากอาณาจักรใหญ่โตในริชมอนด์ฮิลล์ รัฐจอร์เจีย ซึ่งบีซีซีไอเป็นผู้ออกทุน ปัจจุบันทรัพย์สินในสหรัฐฯ ทั้งหมดของพาราออนถูกธนาคารกลางสหรัฐฯ ยึดไว้(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2535)
ชัยภัทร ศรีวิสารวาจาคอนเนกชั่นเป็นปัจจัยสำคัญในการร่วมทุนของ SBC และวอลล์สตรีท การเข้าร่วมทุนระหว่างโบรกเกอร์ไทยกับสถาบันการเงินต่างประเทศในระยะหลังเป็นเรื่องที่ไม่น่าสนใจและเป็นเพียงข่าวชิ้นเล็ก ๆ ที่ไม่ค่อยมีคนให้ความสำคัญเท่าไร(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2535)
นายธนาคารข้อมูล "อนาคตอันใกล้ การพัฒนาตลาดทุนจะไปอย่างรวดเร็ว หลังรัฐส่งเสริมการลงทุนในตลาดทุนนี้ นักลงทุนจะทยอยกันเข้ามาลงทุนมากขึ้น พร้อมกับความต้องการข่าวสารจากนายธนาคารข้อมูล ซึ่งเป็นทางเลือกใหม่"(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2535)
"แบงก์ไทยพาณิชย์" ยุคโอฬารหาแหล่งผลประโยชน์ แบงก์ไทยพาณิชย์จัดเป็นแบงก์ขนาดใหญ่อันดับสี่ของประเทศ รองจากแบงก์กรุงเทพ กรุงไทย และกสิกรไทย เป็นเวลาสองปีเต็ม ที่โอฬาร ไชยประวัติเป็นกรรมการผู้จัดการใหญ่แบงก์ไทยพาณิชย์ กำไรสุทธิของแบงก์ปีที่แล้วต่ำที่สุดในกลุ่มยักษ์ใหญ่ นโยบายและการปรับโครงสร้างปรากฏในรูปของกิจการใหม่ๆ เกิดขึ้นมากมาย โดยแยกส่วนธุรกิจที่ไม่เกี่ยวกับแบงก์ออกไป และใช้กลยุทธ์ตั้งบริษัทใหม่ร่วมกับสี่พันธมิตรหลักที่มีความชำนาญในด้านที่แบงก์ไม่มี(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2534)
สมชาย นินทนาวงศา บริหาร ABF PORTFOLIO 7,000 ล้านบาทของซิตี้แบงก์ ความยากลำบากในการทำธุรกิจธนาคารพาณิชย์ของแบงก์ต่างชาติในไทยเป็นเรื่องมีนานานหลายสิบปี ยากตั้งแต่การเข้ามาตั้งสาขาเลยทีเดียว เพราะไม่มีการเปิดใบอนุญาตมาเป็นเวลานาน ครั้นมีผู้ดำริจะเปิดก็มีข้อครหามากมาย(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2534)
สหธนาคารถูกปรับวันละแสนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงต่ำกว่าร้อยละ 8 ปัญหาคุกรุ่นของสหธนาคารเริ่มก่อตัวอีกครั้งเมื่อแบงก์ชตรวจพบว่าธนาคารฯมีอัตราเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงต่ำกว่าระเบียบที่กำหนดไว้ เพราะไม่สามารถเรียกเพิ่มทุนได้เนื่องจากมีข้อขัดแย้งในกลุ่มผู้ถือหุ้น(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2534)
ใบอนุญาตธนาคารต่างชาติว่าง 1 ใบ หลังจาก BOA รวมกิจการกับ SEC PEC สมัยรัฐมนตรีประมวล สภาวสุ นั่งว่าการที่กระทรวงการคลัง เรื่องหนึ่งที่ฮือฮากันเป็นอย่างมาก คือ นโยบายเพิ่มใบอนุญาตการเปิดสาขาให้แบงก์ต่างชาติในประเทศไทย ว่ากันว่าแบงก์เหล่านั้นต้องจ่ายเงินอย่างมากเพื่อจะให้ได้ใบอนุญาต(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2534)
แบงก์ชาติติดตั้ง "กันชน" ให้ผู้ส่งออก ปัญหาเฉพาะหน้าของผู้ส่งออกอยู่ที่ความเสี่ยง ขณะที่การกีดกันการค้าของโลกกำลังเข้มข้น กลุยทธ์การเติบโตรายได้ประชาชาติอีก 5 ปีข้างหน้าวางไว้ที่ 80% ต้องมาจากบทบาทของธุรกิจภาคการค้าต่างประเทศ หนทางเดียวของผู้ส่งออก คือ การขยายตลาดผู้ซื้อในต่างประเทศภายใต้การคุ้มครองความเสี่ยงของธนาคารเอ็กซิมแบงก์(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2534)
ภารกิจ 4 ปีของชวลิตในบรรษัท ในช่วงเวลาสั้น ๆ เพียงไม่กี่เดือนของชวลิต ธนะชานันท์ ขณะที่เป็นผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย เขาได้สร้างผลงานที่สำคัญทางด้านนโยบายการเงิน กล่าวคือการผ่อนคลายการควบคุมการปริวรรตจากธุรกรรมทางการค้าระหวางประเทศ(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2534)

Page: ..11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 ..





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us