"หนทางใหม่ ๆ ของไทยทนุ"
เรื่องการใช้เครื่องมือใหม่ ๆ ในการระดมเงินออมกำลังเป็นที่สนใจของแบงก์พาณิชย์ หลายแห่งกำลังพูดถึงการออกตราสารชนิดใหม่ชื่อย่อว่า NCD ไม่ว่าจะเป็นแบงก์กสิกรไทย ทหารไทย ซึ่งเป็นแบงก์ขนาดใหญ่และกลาง แต่ไม่มีแบงก์เล็กแห่งไหนเลยที่ออกมาพูดถึงเรื่องนี้ยกเว้นแบงก์ไทยทนุที่กล้าบอกกับใคร ๆ ว่าพร้อมแล้ว 100% และดูเหมือนว่าความพร้อมของแบงก์เล็กแห่งนี้อาจจะพร้อมมากกว่าแบงก์ใหญ่บางแห่งเสียด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2535)
"ที่มาและที่ไปของ BIS ของไทย"
การเติบโตของแบงก์ญี่ปุ่นในตลาดการเงินโลกเมื่อทศวรรษที่ 80 ได้กระตุ้นแบงก์ยุโรปให้ตื่นตัวต่อการแสวงหาหลักการและแนวทางในการควบคุมการเติบโตของแบงก์ญี่ปุ่นเป็นจริงจังมากขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2535)
"มือกฎหมายของไพโรจน์"
ไพโรจน์ ไชยพร กำลังว้าวุ่นอยู่กับปัญหาการแก้ไขหนี้สินประมาณ 1,800 ล้านบาทของกลุ่มไทยเสรีห้องเย็นที่ต่อเนื่องยาวนานมากว่า 4 ปีแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2535)
"อนุญาตเปิด 5 กองทุนรวมตลาดมีสภาพคล่องเพียงพอหรือ ?!"
ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศออกมาแล้วว่าจะมีการเปิดใบอนุญาตจัดการกองทุน
5 ใบในปีนี้ โดยผู้ที่มีสิทธิได้รับใบอนุญาตนั้น จะต้องเป็นสถาบันการเงินที่มีผลการดำเนินงานดี
เป็นผู้ที่ให้ความร่วมมือกับทางราชการในการแก้ไขปัญหาทางการเงินที่สำคัญต่าง
ๆ มีความรู้ความสามารถในการจัดการกองทุน
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2535)
"ฐานะรัตน์ ภูมิพาณิชย์พงษ์ วาณิชธนากรในกรุงไทย"
วาณิชธนากรสาวชาวสงขลาคนนี้เพิ่งเข้ามาสู่วงการเมื่อ 3 ปีที่ผ่านมา แต่สามารถสร้างผลงานจนได้รับความยอมรับเป็นอย่างดีว่าไปแล้วเธอลุยงานในวงการแบงกกิ้งที่สหรัฐฯ
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2535)
"หลังบีไอเอส แบงก์ใหญ่ลอยตัว แบงก์กลางลำบาก"
ในปีนี้ แบงก์ชาติกำหนดให้แบงก์พาณิชย์จะต้องปรับปรุงฐานะเงินกองทุนและการดำเนินธุรกิจเข้าสู่กฎเกณฑ์ของบีไอเอส
ต้นทุนของการดำเนินธุรกิจและความระมัดระวังในการบริหารจะเพิ่มมากขึ้น การแสวงหาธุรกิจที่ที่ไม่เป็นภาระต่อเงินกองทุนเป็นทางรอดที่นายแบงก์ทุกรายมองเห็น
การบ้านของนายแบงก์ข้อนี้จะทำอย่างไรช่วงจากนี้ไป
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2535)
"บัณฑูรจะทำอะไรต่อไปในแบงก์กสิกรไทย"
การบริหารธนาคารกสิกรไทยที่มีสินทรัพย์ประมาณ 300,000 ล้านบาท เป็นมรดกชิ้นสุดท้ายที่บัณฑูร-ลูกชายคนเดียวของเขา
พร้อมกับจัดการแต่งตั้งโยกย้ายผู้บริหารระดับสูงในธนาคารแห่งนี้เพื่อกรุยทางให้บัณฑูรบริหารงานอย่างปลอดโปร่งโล่งใจ
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2535)
"ผู้อยู่เบื้องหน้าบัญชา ล่ำซำ"
ชายคนนี้อยู่ในวัยชราแล้ว แม้ตัวเลขอายุจะเลยวัยเกษียณไม่มาก แต่สุขภาพร่างกายทรุดโทรมเกินกว่าวัย
สาเหตุมีประการเดียวคือการโหมทำงานหนักมาตลอดชีวิต แต่ผลงานที่ทุ่มเทชีวิตสร้างไว้ในแผ่นดินเป็นสิ่งที่วงการธนาคารจะไม่ลืมเลือน
โดยเฉพาะพนักงานแบงก์รวงข้าว
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2535)