นอร์ธปาร์คกับแบงก์เอเชีย กรณีอัฐยายซื้อขนมยาย
จะมีโครสักกี่คนทราบว่า ครั้งหนึ่งที่ดินผืนงามนับร้อยๆ ไร่ ของ "โครงการนอร์ธปาร์ค"
เคยมีจุดเริ่มต้นจากการเป็นที่ดินของ "ชินเขต" มาก่อน แต่หลังจากประสบปัญหาวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจในช่วงปี
2525-2528 จนไม่สามารถผ่อนชำระหนี้สินจำนวนมากได้ จึงถูกทางธนาคารเอเชียยึดหลักทรัพย์ค้ำประกันผืนงามนี้
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2536)
ไพรเวตแบงกิ้งรุกเอเชีย ภูมิภาคเดียวในโลกที่เศรษฐกิจยังบูม
ปัจจุบัน บรรดามหาเศรษฐี ในทั่วโลกเริ่ม รวยน้อย ลงกว่าเมื่อ 2-3 ปีก่อนอย่างมาก
อันเป็นผลสืบเนี่องมจากภาวะที่ระดับราคาสินทรัพย์ ส่วนใหญ่ลดลง ประกบกับภาวะเศรษฐกิจถดถอย
ที่เปรียบเสมือนเมฆหมอกที่ค่อย ๆ เคลื่อนตัวปกคลุมประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกอย่างช้า
ๆ โดยเริ่มจาก สหรัฐฯ แล้วคืบคลานต่อไปยังยุโรป และญี่ปุ่น
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2536)
"การบุกเบิกต่างประเทศของ BBL"
สาขาต่างประเทศของแบงก์กรุงเทพสามารถสร้างผลกำไรได้ประมาณปีละกว่า 1,000
ล้านบาท หรือคิดเป็น 10% ของผลกำไรรวมของธนาคาร มีการอำนวยสินเชื่อของสาขาในต่างประเทศเมื่อสิ้นปี
2534 รวม 95,192 ล้านบาทหรือคิดเป็น 19% ของตัวเลขการการปล่อยสินเชื่อทั้งหมดของธนาคาร
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2536)
"ทำไมจึงแข่งกันเปิดธนาคารที่กัมพูชา?"
"กัมพูชา ประเทศเล็ก ๆ ที่มีปัญหาความบอบช้ำของสงครามกลางเมือง มีสถาบันการเงินหลายแห่งเสนอตัวอยากเข้ามาทำธุรกิจที่นั่น
ออกจะตลกเมื่อคิดในมุมกลับว่า กัมพูชายังไม่พร้อมเลยสำหรับการมีกิจการธนาคาร"
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2535)
"ใครเป็นใครในแบงก์ที่กัมพูชา"
ธนาคารกสิกรในกัมพูชา
"ผมไม่เคยนึกฝันมาก่อนว่าจะเปิดกิจการธนาคารของตนเอง ที่จริงแล้วผมบอกลูกสาวเสมอ
ๆ ว่า "อย่าเรียนวิชาด้านการธนาคารเลย ถ้าหากไม่ได้เป็นเจ้าของธนาคารเอง"
พจน์ บุณยรัตพันธ์ แห่งธนาคารกสิกรกัมพูชา (CAMBODIA FARMERS BANK) หรือซีเอฟบีกล่าว
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2535)
"แคนาเดีย โกลด์ แอนด์ ทรัสต์ คอร์ป"
หากไม่พิจารณาที่ชื่อแล้ว แคนาเดีย โกลด์ แอนด์ ทรัสต์ คอร์ปจัดเป็นธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่ง
แต่มีธุรกิจหลักคือค้าทอง ซึ่งคิดเฉลี่ยได้ถึงราวเดือนละ 600 กิโลกรัม เป็นมูลค่าถึง
6.6 ล้านดอลลาร์
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2535)
"ธนาคารกัมพูชาพาณิชย์ (CAMBODIA COMMERCIAL BANK)"
ธนาคารกัมพูชาพาณิชย์หรือซีซีบี เพิ่งเปิดดำเนินกิจการอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคมปีที่แล้ว โดยเป็นกิจการร่วมทุนต่างประเทศแห่งแรกของกัมพูชา และนับแต่เริ่มเปิดตัวก็ประสบความสำเร็จอย่างสูง ช่วง 6 เดือนแรกทำกำไรได้ถึง 50,000 ดอลลาร์ และตั้งเป้าหมายผลกำไรในปีนี้สูงกว่าตัวเลขดังกล่าว 4 เท่าตัว
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2535)
"ทำไม! กองทัพในแบงก์ทหารไทยไม่มีวันแยกจากไปเด็ดขาด"
"แบงก์ทหารไทยกำลังตกอยู่ในภาวะวิกฤติศรัทธาจากแรงผลักของพฤษทมิฬ นับจาก
พ.ศ. 2500 ถึงปัจจุบัน แบงก์ทหารไทยเพิ่มทุนไปแล้ว 10 ครั้ง ครั้งสำคัญที่ทำให้สัดส่วนถือหุ้นกองทัพลดลงคือปี
2526
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2535)
"ด่วนมาก"
ที่ สร. 43166/2499
กระทรวงการคลัง
4 กันยายน 2499
เรื่อง กองทัพบกขอตั้งธนาคาร
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2535)
"หลัง BIS แบงก์แหลมทองยังลำบากอยู่"
แบงก์แหลมทองเป็นแบงก์เล็กที่สุด แต่ด้วยภาพที่แยกไม่ออกจากราชาที่ดินอย่าง
สุระ จันทร์ศรีชวาลา ทำให้หลาย ๆ คนมองว่าแบงก์เล็กแห่งนี้ จะพลิกฐานะขยับอันดับขึ้นเพราะส้มหล่นจากกฎ
BIS ที่นับการตีราคาที่ดินเข้าเป็นเงินกองทุน หากแท้จริงแล้วหาใช่เป็นเช่นนั้น
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2535)