เบื้องลึกความคิดบัณฑูร ล่ำซำ "ธนาคารเป็นเรื่องสากล"
คนหนุ่มอายุ 47 ปี มาจากครอบครัวเก่าแก่ เป็นผู้ "จุดประกาย" ธุรกิจรากฐานที่สุดในสังคม เข้าใจเรื่อง "ประสิทธิภาพ" มากกว่า "ความยิ่งใหญ่" และเขาก็พิสูจน์ว่าใช้ได้จริง แม้ยามวิกฤติก บัณฑูร ล่ำซำ เป็นนายธนาคารไทยที่ "ความคิด" ทรงอานุภาพคนหนึ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2543)
ธนาคารกสิกรไทยในมุมมอง McKinsey
ธนาคารกสิกรไทยในช่วงการดิ้นรนเพื่อความอยู่รอดตั้งแต่ปี 2541 จากมุมมองในข้อเขียนของวารสาร McKinsey Quaterly
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2543)
ธนาคารไทยยุคก่อนล่มสลาย (2505-2540)
ธนาคารกรุงเทพ กสิกรไทย ศรีนคร ไทยพาณิชย์ เป็นโมเดลตัวอย่างสำคัญในการเข้าใจความสำเร็จ ความล้มเหลว และการปรับตัวของธนาคารไทย เมื่อต้องเผชิญกับวิกฤติเศรษฐกิจในปี 2540 จนระบบธนาคารไทยแบบดั้งเดิมต้องสลายตัวลง
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2543)
ธนาคาร "ไทย"
สาขาธนาคารกสิกรไทยในเมืองใหญ่ ซึ่งแน่นไปด้วยตึกราม หาไม่ยากอย่างที่คิด นอกจากธนาคารแห่งนี้จะเปลี่ยนโลโกใหม่ เติมวงสีแดงล้อมรอบรวงข้าว ส่งให้มองเห็นแต่ไกลแล้ว ยังมีอีกสิ่งที่มีความ "พิเศษ" ไม่เหมือนใครที่สังเกตเห็นง่ายที่สุดอีกด้วย.. ธงชาติไทย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2543)
สมรภูมิของธนาคารกสิกรไทย
ประสบการณ์ล่าสุดของธนาคารกสิกรไทย ซึ่งเป็นธนาคารพาณิชย์ยักษ์ใหญ่อันดับสองของไทยและเป็นธนาคารเอกชนแห่ง
หนึ่งที่มีระบบบริหารที่ดีที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชี้ให้เห็นถึงปัญหาที่สถาบันการเงินย่านเอเชียกำลัง
เผชิญในขณะที่กำลังฟื้นฟูกิจการธนาคารกสิกรไทยเริ่มต้นดิ้นรนเพื่อความอยู่รอดตั้งแต่ปี 1998 แต่วิกฤตการณ์ทาง
เศรษฐกิจหนักหน่วงจนทำให้การพยายามปรับโครงสร้างทุนในครั้งแรกไม่บรรลุผลและกดดันให้ต้องดำเนินความ
พยายามอีกเป็นคำรบที่สอง
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2542)
การเปลี่ยนแปลงที่ไทยพาณิชย์
1 กุมภาพันธ์ 2541 จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ดำรงตำแหน่งนายก กรรมการแทน ประจิตร
ยศสุนทร ซึ่งไปดำรงตำแหน่งประธานกรรมการบริหารเพียงตำแหน่งเดียว
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2542)
ทวิช ธนะชานันท์ กับงานการเงินที่รักยิ่ง
ทวิช ธนะชานันท์ เป็นลูกหม้ออีกคนของโรงเรียนกสิกรไทย ที่ผ่านร้อนผ่านหนาวมาจากยุคเฟื่องฟูของวาณิชธนกิจ มาถึงยุคเจียมเนื้อเจียมตัวของชาววาณิชฯ
ทั้งหลาย เขาโชคดีที่อยู่ในองค์กรที่มีกรอบระเบียบการทำงานที่โปร่งใส และมีจรรยาบรรณ
เขาจึงหลุดพ้นจากการล่มสลายมาได้อย่างหวุดหวิด หากคนเก่งอย่างเขาอยู่ในสถาบันการเงินอื่นที่เคยโด่งดังในอดีต
เขาก็อาจจะเป็นหนึ่งในบรรดา "เหยื่อ" ของฟองสบู่เหล่านั้นด้วยก็เป็นได้
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2542)
จุดจบแบงเกอร์ไทย โฉมใหม่อุตสาหกรรมธนาคาร
14 สิงหาคม เป็นวันที่หลายคนรอคอยอย่างใจจดใจจ่อ แม้จะมีข้าวแพลมออกมาเป็นระยะๆ
เกี่ยวกับมาตรการแก้ไขปัญหาของสถาบันการเงินที่ไม่สามารถเพิ่มทุนได้ด้วยตัวเอง
และแนวทางการดำเนินการธนาคาร 4 แห่ง ที่รัฐบาลประกาศเข้ายึดอำนาจการบริหารและการถือหุ้นเมื่อ
23 ม.ค. (ธ.ศรีนคร) และ 6 ก.พ. 2541 (ธ.นครหลวงไทย, ธ.มหานคร และ ธ.กรุงเทพฯ
พาณิชย์การ) แต่ปฏิบัติการจริงๆ เริ่มได้หลังเจรจาปรึกษากับเจ้าที่ไอเอ็มเอฟและเอดีบี
- เจ้าของเงินกู้รายใหญ่ของประเทศไทยตอนนี้
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2541)
"บัตรออมทรัพย์ทวีสิน ยุทธวิธียิงปืนนัดเดียวของ ธ.ก.ส."
ขึ้นชื่อว่าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรหรือ ธ.ก.ส. เชื่อว่ามีคนเมืองจำนวนไม่น้อยที่ยังไม่รู้จักธนาคารของรัฐแห่งนี้ดีพอ นอกเหนือจากเป็นแบงก์ของเกษตรกรคนยากเท่านั้น และดูเหมือนจะเป็นแดนสนธยาที่คนในเมืองไม่กล้าเข้าไปกล้ำกราย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2540)
หม่อมอุ๋ยปลื้ม เอ็กซิมแบงก์กำไรโตกว่า 20 %
เอ็กซิมแบงก์เปิดศักราชใหม่ด้วยกำไร 615 ล้านบาท จากการดำเนินงานในปี '39
ที่ผ่านมา เพิ่มขึ้นจากปี '38 ที่มีกำไร 501 ล้านบาท คิดเป็นกำไรเพิ่มขึ้น
22.8% และในส่วนของสินทรัพย์เพิ่มขึ้นเป็น 34,489 ล้านบาท จากเดิมที่มีอยู่
28,204 ล้านบาท
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2540)