กนกวรรณ ว่องวัฒนสิน อำลาวงการ แต่เอ็มเว็บยังแค่เริ่มต้น
เธอเป็นหนึ่งในผู้ประกอบการธุรกิจอินเทอร์เน็ตไม่กี่ราย ที่ได้เม็ดเงินจากธุรกิจที่เธอสร้างขึ้นมาด้วยเงินทุน
3.5 ล้านบาท นอกจากปรเมศวร์ มินศิริ เจ้าของเว็บไซต์ sanook.com กนกวรรณ
ว่องวัฒนะสิน ก็จัดเป็นอีกคนหนึ่งที่ได้ชื่อว่า สามารถทำเงินจากธุรกิจอินเทอร์เน็ต
เป็นผลมาจาก การที่เธอขายหุ้นทั้งหมดในบริษัทศูนย์บริการวิทยาการ อินเทอร์เน็ต
จำกัด (Internet KSC) ให้กับกลุ่มเอ็มเว็บ ประเทศไทย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2544)
ไอเอสพีถึงเวลาปรับ
ค่าบริการอินเทอร์เน็ตที่ลดต่ำลง
กลายเป็นประเด็นสำคัญที่ทำให้ผู้ให้บริการเหล่านี้ ต้องปรับกลยุทธ์ธุรกิจใหม่
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2544)
รอยเนท ผู้กล้าประกาศตัวเป็นรายแรกว่าจะเข้าจดทะเบียนใน MAI
บริษัทรอยเนท ประกาศตัวอย่างเป็นทางการเป็นบริษัทแรก ว่าจะขอเข้าเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ใหม่ (Market for Alternative Investment : MAI) ตลาดหุ้นแห่งที่ 2 ที่เปิดดำเนินการมาแล้วกว่า 1 ปี แต่ยังไม่มีบริษัทเข้าไปจดทะเบียนแม้แต่รายเดียว
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2543)
จากตู้โทรศัพท์สาธารณะถึงฟรีอินเตอร์เน็ต
สุรศักดิ์ ชินวงศ์วัฒนา เจ้าของกิจการฟรีไอเน็ต ซึ่งได้สัมปทานไอเอสพีจากองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย(ทศท.) คือเอกชนรายสำคัญในแวดวงธุรกิจสื่อสาร ที่มีความสัมพันธ์กับทศท.ยาวนาน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2543)
เคเบิลแอนด์ไวร์เลส เราเรียกตัวเองว่า "ISP ระดับภูมิภาค"
ความมุ่งหวังของเคเบิลแอนด์ไวร์เลส ไม่ได้อยู่ที่ตลาดของประเทศใดประเทศหนึ่ง
แต่ต้องเป็นการสร้างเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ระดับภูมิภาคเอเชีย และเมืองไทยจึงไม่ใช่ประเทศเดียว
แต่เป็นหนึ่งใน 12 ประเทศเป้าหมาย ที่เคเบิลแอนด์ไวร์เลสจะทยอยลงทุนให้เสร็จภายสิ้นป
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2543)
ฟรีอินเทอร์เน็ต
บริษัทฟรีไอ.เน็ต เป็นของตระกูลชินวงศ์วัฒนา ที่เคยอยู่ในธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์ แต่หันมาเอาดีในธุรกิจอินเทอร์เน็ต ด้วยการไปซื้อแฟรนไชส์ฟรีอินเทอร์เน็ตมาจากสหรัฐอเมริกา ด้วยเม็ดเงิน 200 ล้านบาท เพื่อแลกกับลิขสิทธิ์ให้บริการ 5 ประเทศ คือ ไทย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย และบรูไน
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2543)
แปซิฟิก อินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตแจกฟรีจะมีในไทย?
การมาของไอเอสพีข้ามชาตินี้กำลังเป็นที่ถูกจับตามองจากไอเอสพีด้วยกัน และคนทั่วไปว่า จะสร้างผลกระทบให้กับตลาดมากน้อยเพียงใด โดยเฉพาะกับไอเอสพีด้วยกันและคนไทยจะได้ใช้อินเตอร์เน็ตฟรีหรือไม่ จากกลยุทธ์การตลาดที่ร้อนแรง ที่เคยปลุกตลาดสิงคโปร์จากการแจกอินเตอร์เน็ตฟรีมาแล้วอย่างได้ผล
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2543)
ฟรีพีซี คลื่นลูกแรกของไอเอสพี
ปี 2000 จะเป็นปีที่ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตต้องก้าวไปสู่การแข่งขันในอีกระดับหนึ่ง ธุรกิจ access ไม่ใช่รายได้ที่จะพึ่งพาได้อีกต่อไป และงานนี้ฝีมือและสายป่านเท่านั้นที่จะอยู่รอด
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2543)
นายหน้าบนไซเบอร์
ถึงแม้ว่ามาร์ค ตยางคานนท์ หนุ่มวัย 24 ปี จะไม่ได้เป็นไอเอสพีรายใหม่ หรือไม่มีเว็บไซต์ใหม่ที่ขายได้เงินหลายล้านบาท
แต่เขาสามารถใช้ประโยชน์จากอินเตอร์เน็ตทำเงินเข้ากระเป๋า 2 แสนบาท ภายในเวลา
2 อาทิตย์และ ที่สำคัญมันได้กลายโมเดลช่องทางตลาด แบบใหม่ ที่ทำให้มาร์ค
และสามารถไซเบอร์เน็ตต้องหันมาจับมือกันทำธุรกิจร่วมกัน
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2542)