ฝรั่งรุกเข้าการเกษตรไทยแล้ว
ความฝันของคนไทยในการสร้างอุตสาหกรรมเกษตรเพื่อการส่งออกมีมานานแล้ว ความพยายามก็มีมานานเช่นเดียวกัน
ความเชื่อมั่นว่า ไทยเป็นสังคมเกษตร มีความรู้การเกษตรที่พร้อมจะก้าวสู่อุตสาหกรรมเกษตรสร้างมูลค่าเพิ่มต่อเนื่อง
ก็มีมานานแล้ว ความเชื่อมั่น อุตสาห-กรรมเกษตรนี่ล่ะ คือทางออกและจุดแข็งทางเศรษฐกิจของไทยเมื่อเปรียบกับสังคมธุรกิจ
โลกมีมานานแล้ว
และดูเหมือนจะมากขึ้นในยุคทบทวนตัวเองครั้งใหญ่ ปัจจุบัน
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2542)
โรคเลื่อนตลาดล่วงหน้าสินค้าเกษตรเปิดช่องโจรใส่สูทหากินคล่อง
บนซากปรักหักพังระบบเศรษฐกิจไทยได้กลายเป็นโอกาสทอง ที่สร้างความมั่งคั่งให้แก่มนุษย์ในคราบนักธุรกิจใส่สูทผูกเนคไทโก้หรูแฝงตัวอยู่ในสังคมกลุ่มหนึ่ง
ขณะที่คนส่วนใหญ่ดิ้นรนอย่างสุจริต เพื่อความอยู่รอดกลับต้องตกเป็นเหยื่ออันโอชะของคนกลุ่มนี้อย่างไม่คาดฝัน
เหล่าบัณฑิตใหม่ที่เพิ่งสลัดชุดครุยและผู้เคยมีงานทำ เป็นกลุ่มเป้าหมายของอมนุษย์กลุ่มนี้
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2541)
ปี 2540 เบทาโกรจะขยายงานด้านเทคโนโลยีชีวภาพมากขึ้น
"เครือเบทาโกรมีแผนที่จะนำบริษัทเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยจะทยอยเข้าจดทะเบียนทีละสายธุรกิจไป" นั่นเป็นคำบอกเล่าของ อรอนงค์ ศิริรังคมานนท์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโสของเครือเบทาโกร
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2540)
ตลาดซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าได้เวลาต้องเกิดเสียที
เมื่อ 21 ปีที่แล้ว แนวคิดตลาดซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าของไทยได้รับการหยิบยกขึ้นมา
กล่าวถึงเป็นครั้งแรกภาย หลังตลาดหลักทรัพย์ก่อกำเนิดขึ้นได้ไม่นาน ทว่าก็ต้องมีอันล้มพับไปด้วยเหตุผลทางการเมืองและข้อกฎหมาย
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2539)
"ฟอร์เรสต์ฮิลส์ อาณาจักรของพรไชย เจติยภาคย์"
สำหรับพรไชย เจติยภาคย์ เวลาส่วนใหญ่เขาใช้ไปกับธุรกิจส่วนตัว ซึ่งมีทั้งธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง
และเป็นตัวแทนขายน้ำหอมจากประเทศฝรั่งเศส แต่ที่ออกหน้าออกตามากที่สุด คือธุรกิจสนามกอล์ฟ มีชื่อว่า ฟอร์เรสท์ ฮิลล์ คันทรี่ คลับ ซึ่งจดทะเบียนในรูปบริษัทเจติยภาคย์การเกษตรที่พรชัยจัดตั้งเมื่อสิบกว่าปีที่แล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2539)
"อิสระ ว่องกุศลกิจ "อ้อย" ที่ไม่ได้หมายถึงน้ำตาลเท่านั้น"
นับเป็นกลุ่มทุนเพียงแห่งเดียวในอุตสาหกรรมการผลิตน้ำตาลของไทย ที่เผยแพร่ชื่อเสียงออกสู่สาธารณชนในวงกว้าง และเมื่อถามผู้บริโภคน้ำตาลทรายในประเทศ ชื่อของน้ำตาลทรายมิตรผล เท่านั้นที่ผู้คนส่วนใหญ่รู้จัก แม้ในสายตาของเถ้าแก่หลายรายทั้งรายใหญ่รายเล็กมักมองว่า การเผยแพร่ชื่อเสียงในวงกว้าง ไม่มีความจำเป็นมากนักสำหรับอุตสาหกรรมนี้ เพราะถึงอย่างไรด้วยกลไกของระบบสินค้ามันก็ขายได้อยู่แล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2539)
คุนหมิง เจิ้งต้าสูตรสำเร็จของซีพี
เครือซีพี เป็นกลุ่มทุนที่ติดอันดับต้นไป ในบรรดานักลงทุนต่างชาติ ที่เข้าไปลงทุนในประเทศจีน
คุนหมิง เจิ้งต้า คือหนึ่งในโครงการการลงทุนด้านอาหารสัตว์ ในมณฑลยูนนานของ
ซีพี ซึ่งได้ยกเอกกลยุทธ์การตลาดที่เป็นคัมภีร์การสร้างและขยายธุรกิจอาหารสัตว์ของซีพี
ในประเทศไทยไปใช้อย่างได้ผล
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2537)
ปุ๋ยแห่งชาติ:เกิดแน่แต่โตยาก
ในที่สุด โครงการปุ๋ยแห่งชาติ ที่ถือกำเนิดขึ้นมาจากไอเดียของแทรคโนแครต
ในรัฐบาลชุดพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ก็ได้ฤกษ์ลงเสาก่อสร้างโรงงานผลิตปุ๋ย
หลังจากล้มลุกคลุกคลานมาถึง 12 ปี เพราะความไม่แน่นอนของนโยบาย แลความเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์แวดล้อม
ที่ทำให้ต้องมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างผู้ถือหุ้น การเกิดนั้นพิสูจน์แล้วว่านกลำบาก
แต่การเติบโตอาจจะยิ่งยาวกว่า
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2537)
สงครามปุ๋ย มากด้วยผลประโยชน์อิทธิพล
การปุ๋ยเคมี ในเมืองไทยนั้น เริ่มตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา ในช่วงนั้น
มีบริษัทนำเข้าปุ๋ยจากต่างประเทศเข้ามาขายได้แก่ บริษัทยิบอินซอย และบริษัทพาราวินเซอร์
ระยะแรกนำเข้ามาจากประเทศ เยอรมัน ต่อมาในปี 2500 เริ่มมีการนำเข้าปุ๋ยจากญี่ปุ่น อเมริกา อิตาลี โดยปุ๋ยที่นำเข้ามาจากญี่ปุ่นมีส่วนแบ่งการตลาดมากที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2537)
"คนเลี้ยงกุ้งในเอกวาดอร์"
"อังเดรส์ หวาง หลิน" พายเรือเลาะชายป่าโกงกาง "เอกวาดอเรียน"
ที่หนาทึบอย่างเงียบเชียบโดยมีปืนพกเป็นอาวุธ และแสงสว่างจากไฟฉายส่องไปรอบๆ
สรรพเสียงยามค่ำหนาหูทั้งนกและสัตว์เลื้อยคลาน แต่หูของหวางหลินสามารถจำแนกเสียงๆ
หนึ่งออกจากเสียงเซ็งแซ่ทั้งหมดได้เป็นอย่างดี นั่นก็คือเสียงฮึ่มๆ ของเครื่องยนต์เรือของพวกหัวขโมยที่ลักลอบเข้ามา
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2537)