พัฒนา “กล้วย” ให้เป็นอุตสาหกรรม
แม้ว่างานมหกรรม "กล้วย" แห่งชาติเฉลิมพระเกียรติฯ จัดขึ้นเมื่อกลางเดือนสิงหาคมจะผ่านพ้นไปแล้ว แต่ประเด็นว่าด้วยความสำคัญของ "กล้วย" ในเชิงเศรษฐกิจยังเป็นสิ่งที่ได้รับการกล่าวถึงไม่สิ้นสุด
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ตุลาคม 2552)
ซี.พี.ลาว เล็กแต่มากโอกาส
คนที่เข้าไปซื้อของตามมินิมาร์ทในนครหลวงเวียงจันทน์ทุกวันนี้ คงได้เห็นไข่ไก่แพ็กตรายี่ห้อ CP วางขายเหมือนกับที่มีอยู่ในร้านเฟรชมาร์ทในไทย ปรากฏการณ์นี้ถือเป็นเพียงจุดเริ่มต้นของการเผยแพร่อาหารแบรนด์ CP ใน สปป.ลาวเท่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ตุลาคม 2552)
ภูมิปัญญาไทย?
มีผู้อ่านท่านหนึ่งส่งหนังสือที่ชื่อ "คู่มือเกษตรกรรมธรรมชาติ" มาให้อ่าน ซึ่งเมื่อพลิกดูเฉพาะเนื้อหาโดยละเอียดแล้วก็พบว่าเหมาะสมสำหรับการนำมาเสนอต่อกับท่านผู้อ่านในพื้นที่แห่งนี้ ณ จังหวะเวลานี้ เนื่องจากมีเนื้อหาที่สอดคล้องกับเรื่องจากปกของนิตยสารผู้จัดการ 360 ํ ฉบับนี้ที่เน้นเรื่องการแก้ไข หรือการจัดการกับปัญหาขยะอยู่พอดี
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กันยายน 2552)
“มิตรลาว” ไป EU
บรรเทิง ว่องกุศลกิจ กรรมการผู้จัดการ บริษัท น้ำตาลมิตรลาว จำกัด กล่าวว่า ในรอบการผลิต 2551/2552 มิตรลาวมีปริมาณอ้อยเข้าหีบทั้งสิ้น 230,000 ตันอ้อย คิดเป็นน้ำตาลที่ผลิตได้ทั้งสิ้น 23,150 ตัน โดยบริษัทฯ ได้จัดสรรน้ำตาลจำนวน 22,940 ตัน ส่งจำหน่ายไปยังสหภาพยุโรปตามสัญญาที่ทำไว้กับบริษัท เทด แอนด์ ไลล์ ผู้ค้าน้ำตาลรายใหญ่ของโลก
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มิถุนายน 2552)
การส่งเสริมการเกษตรในเมืองกับแก้ปัญหาการขาดแคลนอาหาร
ได้กล่าวมาหลายครั้งแล้วถึงผลที่จะเกิดขึ้นกับสังคมเศรษฐกิจและสภาพแวดล้อม จากการที่เมืองต่างๆ ในเขตอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง (GMS) มีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ได้คาดการณ์ไว้ตั้งแต่ปี 2000 ว่า ภายในปี 2015 จำนวน 26 เมืองทั่วโลกที่มีประชากรตั้งแต่ 10 ล้านคนขึ้นไป จะมีถึง 16 เมืองที่จะเป็นเมืองในเอเชีย
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มีนาคม 2552)
กระบวนการสร้างแบรนด์ "CP"
ภาพโลโกตัวอักษร "CP" สีแดงบนพื้นเหลือง ในวงกลมสีแดงและขาวบนซองแดง บนชั้นในแผนกอาหารของซุปเปอร์มาร์เก็ตต่างๆ สำหรับคนไทยวันนี้ก็ดูจะเป็นสิ่งที่คุ้นตาไปแล้ว เพราะนอกจากจะมีให้เห็นได้ทั่วไป หาซื้อมารับประทานได้รวดเร็วทันใจ ในคุณภาพดีที่ราคาพอเอื้อมถึงแล้ว เรายังพบเห็นสินค้าเหล่านี้ในโฆษณาอย่างแพร่หลาย
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2551)
เป้าหมายที่ท้าทายของ "อดิเรก ศรีประทักษ์"
แม้ว่าจะไม่ค่อยได้ยินคนพูดถึงนโยบาย "Kitchen of the World" กันเหมือนเมื่อครั้งที่ภาครัฐชูประเด็นการยกระดับธุรกิจอาหารของไทยให้ยืนหยัดบนเวทีการค้าในฐานะ "ครัวของโลก" อย่างสง่างาม หากทว่าการเติบโตของ "ซีพีเอฟ" ในวันนี้ มีแรงหนุนส่งมากพอที่จะทำให้เป้าหมายเป็นจริง โดยยังไม่มีผู้ประกอบการอาหารไทยรายใดก้าวตามได้ทัน ซีพีเอฟจึงเป็นอีกโมเดลที่น่าศึกษากลยุทธ์การลงทุน
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2551)
วิกฤติคือโอกาสในแบบ "เบทาโกร"
ท่ามกลางวิกฤติการณ์การเงินของโลกในขณะนี้ ไม่ว่าจะหันไปทางไหนก็มีแต่คนวิตกกังวลต่ออนาคตของเรื่องปากท้อง ครั้นจะไปคุยกับผู้เชี่ยวชาญทั้งนักเศรษฐศาสตร์จากสถาบันการศึกษา หรือนักธุรกิจเจนสังเวียน ต่างก็ทำนายในทำนองที่ยิ่งฟังก็ยิ่งกลุ้ม แล้วทางออกของปัญหาอยู่ตรงไหนล่ะ!!
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2551)
ทุนนิยมในยุคโลกาภิวัตน์กับเกษตรกรในนิวซีแลนด์
ในสมัยก่อนประเทศไทยเคยออกกฎหมายรัฐนิยม ซึ่งมีกฎหมายสงวนอาชีพประจำชาติของชาวไทย เป็นมรดกตกทอดมาให้กับชาวนาไทยจนถึงในปัจจุบัน ในประเทศนิวซีแลนด์เองแม้ว่าจะไม่มีกฎหมายแบบในบ้านเรา แต่ในแง่ปฏิบัติแล้วอาชีพเกษตรกรรมก็ถือว่าเป็นอาชีพประจำชาติเช่นกัน
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2551)
สึนามิเงียบ
ราคาอาหารที่แพงลิบลิ่วกำลังสร้างความอดอยากยากแค้นและความปั่นป่วนไปทั่วโลก และจำเป็นต้องแก้ไขอย่างถึงราก วิกฤติความอดอยากในอดีตมักเกิดจากการเก็บเกี่ยวพืชผลตกต่ำเนื่องจากสงครามหรือความรุนแรง และมักจำกัดอยู่เพียงที่ใดที่หนึ่ง โดยจะส่งผลกระทบหนักหน่วงต่อคนที่ยากจนที่สุดเท่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2551)