อนาคตอุตสาหกรรมน้ำตาล ปล่อยให้ตาย ก็ไม่ได้ จะเลี้ยงก็ยากแสนเข็ญ
ขณะที่ "ผู้จัดการ" ฉบับนี้ออกวางตลาด การกำหนดราคาอ้อยเบื้องต้นโดยสำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาล (กอน.) ซึ่งประกอบไปด้วยตัวแทนชาวไร่อ้อย ตัวแทนโรงงานน้ำตาล ผู้ส่งออก และตัวแทนจากภาครัฐบาล คงสามารถตกลงกันได้แล้วว่าราคาควรจะเป็นเท่าไหร่ในภาคฤดูการผลิตน้ำตาล 2528/2529
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2528)
ไทยรุ่ง ตำนานเสื่อผืนหมอนใบที่เขียนขึ้นโดย "เถ้าแก่หลิ่น"
ขณะนั้นกลุ่มไทยรุ่งเรืองมีโรงงานน้ำตาลทั้งหมด 11 โรง มีกำลังหีบอ้อยรวมกันประมาณ 70,000 ตันต่อวัน ถ้าเปรียบเทียบกับจำนวนโรงงานน้ำตาลทั้งหมดที่ประเทศไทยมีอยู่ คือ 42 โรงแล้ว (ขณะนี้มีเพิ่มขึ้นเป็น 44 โรง) และแม้ว่าปัจจุบันกลุ่มไทยรุ่งเรืองจะเหลือโรงงานน้ำตาลอยู่เพียง 9 โรง อันเป็นผลจากเมื่อปลายปี 2525 ไทยรุ่งเรืองดำเนินมาตรการตอบโต้นโยบาย 70/30 ด้วยการประกาศขายโรงงานน้ำตาลของตนทั้งหมด และกลุ่มบ้านโป่งของ วิบูลย์ ผานิตวงศ์ รับซื้อไป 2โรง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2528)
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับชาวไร่อ้อย...อภิมหาเกษตรกร!!!
ประเทศไทยเป็นประเทศกสิกรรมเราจึงมีประชากรส่วนใหญ่เป็นเกษตรกร รัฐบาลยุคไหน พรรคการเมืองไหนที่ไม่มีนโยบายช่วยเหลือเกษตรกร ยังไม่เคยเกิดขึ้นในประเทศนี้ และคงยังไม่เกิดภายในเวลา 100 ปีต่อไป เพราะความฝังใจของคนไทยโดยเฉพาะคนในเมือง เกษตรกรคือผู้ที่มีอาชีพที่มีรายได้น้อย มีความเป็นอยู่แร้นแค้น บางจังหวัดบางภาคยากจนถึงกับลูกหลานต้องกินดินประทังหิวจนเป็นข่าวตื่นเต้นฮือฮา
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2528)
พิธีเปิดอาคารบ้านโป่ง งานมงคลที่เรียบง่าย
วันที่ 10 ตุลาคม 2528 เป็นวันที่ผู้บริหารบริษัทโรงงานน้ำตาลบ้านโป่งและบริษัทในเครือ ถือเป็นฤกษ์ย้ายสำนักงานจากจุฬาฯ ซอย 6 มาอยู่อาคารหลังใหม่เอี่ยมมูลค่า 200 ล้านบาท เชิงสะพานหัวช้าง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2528)
วิบูลย์ ผาณิตวงศ์ "พลาด" แต่ไม่ผิด
วิบูลย์ ผาณิตวงศ์ "พลาด" จริง พลาดเพราะทุ่มทุนสุดตัวกู้หนี้ยืมสินขยายกิจการโรงงานน้ำตาลในกลุ่ม ในช่วงที่ยังไม่มีสัญญาณใด ๆ บอกว่าราคาน้ำตาลในตลาดโลกจะเขยิบสูงขึ้น นอกจากความหวังในวงจรราคาน้ำตาล
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2528)
"กำเนิดกลุ่มโรงงานน้ำตาลบ้านโป่ง"
"บ้านโป่ง" เป็นชื่ออำเภอหนึ่งของจังหวัดราชบุรี บ้านเกิดของพี่น้องตระกูล "ผาณิตพิเชฐวงศ์" และเป็นที่มาของชื่อ "บริษัทโรงงานน้ำตาลบ้านโป่ง" ที่เปรียบเสมือนบริษัทแม่ของโรงงานน้ำตาลในเครืออีก 5 โรง หรือที่นิยมเรียกกันว่ากลุ่มบ้านโป่ง ใน พ.ศ. นี้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2528)
"มวลชนพัฒนา" แต่คงไม่ได้พัฒนาความคิดทหาร
"กงล้อประวัติศาสตร์ นั้นหมุนไปข้างหน้าเสมอ ไม่มีใครสามารถหมุนกงล้อให้ย้อนกลับถอยหลังได้ คงมีเพียงความคิดของคนเท่านั้นที่บางครั้งหยุดนิ่ง บางครั้งก็ถอยหลังเข้าคลอง
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2528)