แผนหมูสามชั้น ข่าวดีที่แบงก์กลัวเจ็บตัวอีก !?
หลังปล่อยให้วังน้ำฝนมีอิสระในการแก้ไขปัญหาเกือบหนึ่งปีเต็ม แบงก์กรุงเทพก็พอมองออกเลา ๆ แล้วว่า ตัวเองคงหมดความหวังกับวังน้ำฝนเสียแล้ว ดังนั้นจึงได้ยื่นข้อเสนอแบบค่อย ๆ บีบและ ไม่น่าเกลียดจนเกินไปนักรวมทั้งวังน้ำฝนเองก็ไม่มีสิทธิ์ปฏิเสธ 3 ข้อใหญ่คือ
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2531)
ชูศักดิ์ หิมะทองคำ เขาติดกับดักตัวเองแท้ ๆ
เมื่อเกือบ 10 ปีก่อน ชื่อของชูศักดิ์ หิมะทองคำ เจ้าหน้าที่แบงก์กรุงเทพระดับ VP ดังระเบิดทั่วยุทธจักรการเงินในบ้านเรา เมื่อเขาริเริ่มโครงการสินเชื่อเกษตรครบวงจร "หนองหว้า" ร่วมกับเจริญโภคภัณฑ์ นัยว่าโครงการสินเชื่อชิ้นนี้ประสบผลดียิ่งจนผู้ใหญ่หลายคนในแบงก์ให้การยอมรับในฝีมือชูศักดิ์เป็นอย่างมาก
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2531)
อาณาจักรไทยรุ่งเรืองเมื่อเถ้าแก่หลิ่นยังอยู่..เจ้ายุทธจักรอุตสาหกรรมน้ำตาลย่อมยั่งยืน
ไม่เคยมีอะไรใหม่เลย สำหรับกลุ่มโรงงานน้ำตาลใหม่ไทยรุ่งเรือง ภายใต้การนำของสุรีย์
อัษฎาธร ผู้ทำตัวเหมือนกระแสน้ำที่กลายเป็นคลื่น ไหลขึ้นไหลลงอย่างนี้ชั่วนาตาปี
บางครั้งอยู่ยอดคลื่น บางครั้งลงต่ำเป็นคลื่นเล็ก จริงหรือ?? ที่บางคนบอกว่า
ไทยรุ่งเรืองคืออาณาจักรหรือมรดกในอุตสาหกรรมน้ำตาล หรือที่เรียกว่า "แมวเก้าชีวิต"!?
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2530)
สุริยน ไรวา THE FIRST TYCOON
สังคมธุรกิจของเราทุกวันนี้มี TYCOON มากหน้าหลายตา พวกเขาประสบความสำเร็จบนพื้นฐานการสร้างสรรค์งานที่โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์
แต่ดูเหมือนชื่อ สุริยน ไรวา กลับไม่ค่อยมีใครรู้จักทั้งที่จริง ๆ แล้ว สุริยนคือ
แบบแผนของ TYCOON คนแรกของสังคมธุรกิจสมัยใหม่ ภายหลังสงครามโลกครั้งที่
2 สิ้นสุดลง ทำไมชื่อสุริยน THE FIRST TYCOON ถึงได้หลุดหายไปจากหน้าประวัติศาสตร์และมันมีบทเรียนอะไรที่ซ่อนอยู่ระหว่างบรรทัดที่หลุดหายไปนั้น
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2530)
วิบูลย์-วิเทศ-อารีย์ สามเสือน้ำตาล ผู้สร้างตำนานโศกสลด
วิบูลย์ ผานิตวงศ์ เป็นคนหนุ่มที่เติบโตขึ้นมา ในวงการน้ำตาลอย่างก้าวกระโดด
ต่างจากวิเทศ ว่องวัฒนะสิน ผู้อาวุโสที่ค่อย ๆ สะสมบารมีมาช้านาน และไม่เหมือน
อารีย์ ชุนฟุ้งแห่งกลุ่มวังขนายแต่ทั้ง 3 คน ดูเหมือนมีบางสิ่งที่เหมือนกันเข้าให้แล้ว
นั่นก็คือหนี้สินที่รวมกันแล้วกว่า 10,000 ล้านบาท ที่ทำเอานานแบงก์นั่งน้ำตาตกตาม
ๆ กัน
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2530)
เอฟบี้."ศรีสุข มณีใส" เรื่องราวของเขาบอกถึงความหวังของเกษตรกร
คนในโป่งแยง-แม่แรม รู้จักเอฟบี้. เป็นอย่างดี เกษตรกรวัย 35 ปี ลูกครึ่งไทย-เดนมาร์กคนนี้
เป็นผุ้บุกเบิกโลกแห่งการท่องเที่ยวในพื้นที่นี้ เอฟบี้. ร่วมงานกับคุณหญิงอุไร
เชิงอำรุง แม่ยายของกิตติ พัฒนพงศ์พิบูล กรรมการผู้จัดการแบงก์อาคารสงเคราะห์
ตกแต่ง "แม่สาวัลเลย์" ให้เป็นรีสอร์ทแห่งแรก
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2530)
กรพจน์ อัศวินวิจิตรA YOUNG DEAL MAKER
ในยุคธุรกิจดั้งเดิมมีปัญหาการ "สืบต่อ" และปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ใหม่
กรพจน์ อัศวินวิจิตร เป็นคนหนุ่มอายุน้อยคนหนึ่ง เป็นแบบอย่างที่ดีของการ
"สืบต่อ"
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2530)
8 แบงก์ประชุมปัญหาหนี้ 3 พันล้านของ อนท.
15 ก.ค. 30 - ผู้แทนจากธนาคารพาณิชย์ 8 แห่งอันได้แก่ผู้แทนจากธนาคารกรุงเทพ
กรุงไทย กรุงศรีอยุธยา กสิกรไทย ไทยพาณิชย์ ศรีนคร สหธนาคารและธนาคารเอเชีย
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2530)
อาณาจักรของไซม ดาร์บี้หวั่นไหวเล็กน้อยแต่ยังมั่นคงดี
ในมาเลเซีย ถ้าพูดถึงกลุ่มธุรกิจอุตสาหกรรมเกษตรที่มีขนาดใหญ่ระดับ เจ้าพ่อ
ไซม ดาร์บี้ (Sime Darby) เป็นที่รู้จักกันมากที่สุด The Economist (ฉบับที่
13-19 มิถนายน 1987) กล่าวถึงกลุ่มบริษัทนี้ว่า
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2530)