10% ตายตัว เกษตรกรเลี้ยงสัตว์ตายแน่
ปัญหาที่เกิดขึ้นในขณะนี้ เกี่ยวกับการตลาดสินค้าเกษตรประเภทเนื้อสัตว์ที่ผู้ผลิตรายใหญ่
เขาต้องการให้รัฐบาลออกนโนบายการนำเข้าวัตถุดิบในการผลิตอาหารสัตว์อย่างเช่นข้าวโพด
กากถั่วเหลือง และปลาป่นโดยเสรีโดยที่อ้างว่าถ้าไม่เป็นอย่างนั้นแล้ว การผลิตเนื้อสัตว์ของไทยเราจะสู้กับคู่แข่งต่างประเทศไม่ได้
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2533)
ตุ๊กตาล้มลุก "ว่องเท้งโป"
"ว่องเท้งโป" หรือ วิทิศ ว่องวัฒนะสิน มีจุดหัวเลี้ยวหัวต่อสำคัญในชีวิต
2 ครั้ง ครั้งแรก แยกตัวจากมิตรผล มาทำมิตรเกษตร และน้ำตาลไทยจนรุ่งเรือง
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2532)
เบื้องหลัง ยงเกียรติ หลุดจากมิตรเกษตร
เข้าทำนองคนมันดวงตก ความวัวพึ่งจะหาย ความควายก็เข้ามาแทรกแทนที่ ฤดูกาลเปิดหีบ
2531/2532 กำลังจะคืบคลานเข้ามาทุกๆขณะ ใบหน้าของ วิเทศ ว่องวัฒนะสิน พึ่งจะได้ลิ้มรสรอยยิ้มของงตัวเองที่ได้กลับคืนสู่สถานะเถ้าแก่น้ำตาลดั่งเดิม
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2532)
กานต์ คูนซ์ กับความฝันในอุดมการณ์
กานต์ คูนซ์ (KARL KUNZ) ฝรั่งอเมริกันครึ่งหนึ่งไทยครึ่งหนึ่งคนนี้หายหน้าหายตาไปจากวงการคอมพิวเตอร์อยู่นานก่อนหน้านั้นทราบว่าเขาเป็นนักพัฒนาเกษตรที่บริษัทอดัมส์ อินเตอร์เนชั่นแนลไม่มีวันลืมในความสามารถ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2532)
"เชลล์" ในสงครามสีเขียว
พระบรมราโชวาทตอนหนึ่งของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลปัจจุบันความว่า
"เศรษฐกิจของเราขึ้นอยู่กับการเกษตรมาแต่ไหนแต่ไรแล้ว รายได้ของประเทศที่ได้มาใช้สร้างความเจริญด้านต่างๆ
เป็นรายได้จากการเกษตรเป็นส่วนใหญ่ จึงอาจกล่าวได้ว่าความเจริญของประเทศต้องอาศัยความเจริญของการเกษตรเป็นสำคัญ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2531)
จะบอกว่าส่วนไหนเป็นป่าก็จะเว้นเอาไว้มันไม่จริง
การลงทุนขนาดใหญ่ผู้ลงทุนมักจะเริ่มต้นจากการมองความต้องการของตลาด ระยะเวลาคุ้มทุนของการลงทุน
เมื่อคิดว่ามันกำไรก็ลงทุนพอตัดสินใจอย่างนั้น แล้วประเด็นตามมาก็คือว่าทำอย่างไรภายใต้เงื่อนไขเวลาและทุนขนาดนี้จึงจะได้กำไรสูงสุด
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2531)
ไต้หวันนักบุญหรือผู้รุกราน
ไต้หวันเป็นประเทศหนึ่ง ที่จะมีบทบาทต่อการลงทุนพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศไทยมากขึ้น
กระแสการเคลื่อนย้ายทุนของไต้หวันในไทยนั้น สูงขึ้นเป็นอันดับที่สองแล้ว
และจากสถานภาพการผลิตที่ใกล้เคียงกับนักลงทุนในไทย จึงเป็นเรื่องที่น่าสนใจมากว่า
ความหวังใหม่จากไต้หวันนั้นเสมือนหนึ่งตวัดดาบเชือดคอหอยตัวเองหรือไม่!?
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2531)
ซีพีกรุ๊ปเจียรวนนท์ก้าวไปไกลกว่าใครคาดคิด
จากจุดเริ่มต้นเมื่อปี 2464 โดยบรรพบุรุษตระกูลเจีย ผู้รอนแรมข้ามน้ำข้ามทะเลมาจากซัวเถา
ซีพีกรุ๊ปในวันนี้แม้เพิ่งจะเข้าสู่รุ่นที่ 2 ภายใต้การชี้นำของ ธนินท์ เจียรวนนท์
ก็นับว่ามาไกลมาก ๆ แล้ว ไม่ว่าจะพิจารณาจากปริมาณของธุรกิจหรือคุณภาพขององค์กร
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2531)
ลมที่เปลี่ยนทิศของเลี่ยวไพรัตน์
เลี่ยวไพรัตน์เป็นกลุ่มธุรกิจที่พลิกแพลงตัวเองอยู่ตลอดเวลา เริ่มต้นสั่งสมทุนด้วยธุรกิจภาคเกษตรกรรมเป็นหลัก
ครั้นถึงจุดจุดพลุกลับหักเหเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรมได้อย่างมีศักดิ์ศรี บัดนี้ส่งมอบสู่มือที่
2 ด้วยความมั่นคงและท้าทายที่จะเป็นผู้นำอุตสาหกรรมยุคใหม่อย่างแท้จริง…
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2531)
ชาตรี-พิเชษฐ์ ใครลึกกว่าใคร ?
แบงก์กรุงเทพต้องเสียหน้า (มากทีเดียว) กับคดีฟ้องร้องวังน้ำฝน ซึ่งนอกจากทำตามกระบวนความแล้วยังมีอีกเหตุผลหนึ่งคือ ชาตรีเริ่มรู้ถึงความไม่ปลอดภัยของปัญหานี้ เพราะเห็นว่าพิเชษฐ์ชัก ไม่จริงจังกับปัญหาหลังจากที่ จม.เสนอแผนงานที่ส่งมาถึงแบงก์เมื่อเดือนสิงหาคมปีที่แล้วของเขาถูกตอบปฏิเสธ
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2531)