แอควาสตาร์ บนทางวิบากของ "เพื่อนร่วมพัฒนา"
แอควาสตาร์เข้าไปส่งเสริมการเลี้ยงกุ้งกุลาดำที่อำเภอระโนดเมื่อสามปีที่แล้ว
จนอาชีพใหม่นี้ได้พลิกโฉมหน้าของอำเภอเล็ก ๆ แห่งนี้ไปจากเดิม ด้วยรูปแบบการดำเนินงาน
ที่เคร่งครัด ตายตัว การบริหารงานที่หละหลวม และผลประโยชน์ที่เย้ายวนใจเกษตรกรจำแลง
นำไปสู่ความขัดแย้งที่ยืดเยื้อยาวนานมาถึงครึ่งปีแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2534)
ซีพี บนเส้นทางคนละสายที่ไปสู่จุดหมายเดียวกัน
ความจัดเจนในธุรกิจการเกษตร ความพร้อมในด้านเงินทุนและเทคโนโลยี ความมีประสิทธิภาพของกำลังคนของซีพีได้รับการพิสูจน์อีกครั้งว่าเหนือกว่าใคร
เมื่อเข้าสู่ธุรกิจกุ้งกุลาดำแบบครบวงจร โครงการส่งเสริมการเลี้ยงกุ้งกุลาดำของซีพีต้องถือว่าเป็นกรณีศึกษาในการดำเนินกลยุทธ์ที่เยี่ยมยอดเพื่อมัดหัวใจเกษตรกรให้อยู่มือ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2534)
ทูน่า ปลอดภัย แม้มีสงคราม
สงครามในตะวันออกกลางนอกจากจะทำให้ภาวะเศรษฐกิจทั่วโลกเกิดความปั่นป่วน ตลาดหุ้นหลัก ๆ ในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกก็พลอยผันผวน ซึ่งก็รวมทั้งตลาดหุ้นไทยด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2534)
บุหรี่นอก งานท้าทายของพลโทปัญญา
กระทรวงเกษตร สหรัฐฯ รายงานว่า ในค.ศ. ที่ 2000 การผลิตใบยาสูบของสหรัฐ
จะมีปริมาณ 8,000 ตัน ขณะที่ความต้องการมี 4,500 ตัน เหลือส่ง ออก 3,500
ตัวเลขผลผลิตเหลือส่งออกนี้เทียบกับ 2,500 ตันของปี 1975 จะมีเพิ่มขึ้น 1,000
ตัน
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2534)
วิบูลย์ พาณิตวงศ์ฟื้นตัวแล้ว
5 ปีเต็ม ๆ ที่ วิบูลย์ ผาณิตวงศ์ เก็บตัวเงียบแก้ไขปัญหาที่ทับตัวเขาอยู่กับอง หนี้ 5,250 ล้านบาทที่เขาก่อขึ้น เพื่อสร้างอาณาจักรกลุ่มโรงงานน้ำตาลบ้านโป่ง
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2533)
สุชาติ ธาดาธำรงเวช ผู้สร้างภาพพจน์ใหม่ของซีพี
รศ.ดร.สุชาติ ธาดาธำรงเวช กับกลุ่มซีพีหรือเครือเจริญโภคภัณฑ์ ดูจะเป็นชื่อคู่กันที่เริ่มคุ้นเคยของประชาชนทั่วไปแล้วสำหรับวันนี้
ในฐานะที่สุชาติเป็นประธานสถาบันที่ปรึกษาเศรษฐกิจของกลุ่มซีพี
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2533)
พงศ์พันธุ์ บุรณศิริ หุ่นจำลองของรัฐวิสาหกิจที่ถูกแปรรูป
ภาพของบริษัทผลิตภัณฑ์อิสาน จำกัดในวันนี้ คือภาพของบริษัทธุรกิจกระสอบปอที่สดใส
โดยเฉพาะเมื่อเข้าตลาดหลักทรัพย์ฯ แต่ถ้าย้อนมอง 3 - 4 ปีที่ผ่านมาผลิตภัณฑ์อิสานในอดีตก็คือบริษัทกระสอบอิสาน
จำกัด ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจที่ใครต่างมองด้วยสายตาอย่างเดียวกันว่า บริหารไม่ดี
มีแต่ขาดทุน กระทรวงการคลังจึงมีนโยบายประกาศแปรรูปเป็นเอกชน
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2533)
กำนันทรงมีแต่ทรงกับทรุด
ท่าข้าวกำนันทรงเกิดขึ้นมาจากความเหมาะสมของทำเลที่ตั้งซึ่งสอดคล้องกับระบบการขนส่งในขณะนั้น ในขณะที่ปากน้ำโพคือจุดบรรจบที่แม่น้ำปิง วัง ยม น่าน ไหลมาพบกันเป็นแม่น้ำเจ้าพระยาพยุหคีรีก็คือ
ปลายทางที่ข้าวเปลือกจากท้องนาในเขตภาคเหนือตอนล่างซึ่งเป็นพื้นที่ปลูกข้าวใหญ่ที่สุดในประเทศถูกลำเลียงมารวมกันก่อนจะกระจายสู่โรงสีในภาคกลาง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2533)
ซีพีเลี้ยงจระเข้
เป็นเวลากว่าปีครึ่งที่บริษัทกรุงเทพผลิตผลอุตสาหกรรมการเกษตร ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของซีพี
(เจริญโภคภัณฑ์) ซุ่มเงียบกับการทดลองเลี้ยงจรเข้ที่ฟาร์มนครหลวง จังหวัดชลบุรี
ณ ฟาร์มแห่งนี้เลี้ยงไก่ไข่นับแสน ๆ ตัว
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2533)
วิชัย เถ้าแก่ข้าวนึ่ง เก่งอย่างเดียวแต่เก่งจริง
คำว่า "คลื่นลูกใหม่" ยังคงขลังเสมอสำหรับวงการธุรกิจที่การแข่งขันดำเนินไปอย่างเข้มข้น
การค้าข้าวส่งออกซึ่งเป็นธุรกิจเก่าแก่คู่เมืองไทยมาแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาก็ยังมีคนใหม่
ๆ เข้ามาสร้างปรากฏการณ์ให้เห็นอยู่เสมอ ถึงแม้ว่าธุรกิจเก่าแก่อันนี้กำลังจะถูกละเลยไปในอนาคตข้างหน้าสักวันหนึ่งก็ตามที
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2533)