พลิกวิถี หลังสู้ฟ้าหน้าสู้ดิน
ว่ากันว่า คน “แปดริ้ว” หรือชาวจังหวัดฉะเชิงเทรานั้นเป็นนักประดิษฐ์ เพราะไม่ว่าจะเป็น “ควายเหล็ก” หรือเครื่องยนต์ “เรือหางยาว” ที่เข้ามาเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชาวไทยในอดีต ล้วนมีจุดกำเนิดมาจากที่นี่
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2555)
เราเคยทำอะไรบ้างเพื่อรักษาแชมป์
สมชัย หยกอุบล กรรมการผู้จัดการ บริษัทเครื่องจักรกลเกษตรไทย ในเครือเกษตรอุตสาหกรรม ถ้าเราจะรักษาแชมป์ด้านการส่งออกข้าวนี่ ลำบากแน่นอน ต้องถามย้อนกลับว่า ที่ผ่านมาเราได้ทำอะไรเกี่ยวกับการรักษาแชมป์บ้าง การที่เราจะรักษาแชมป์ด้านการส่งออกนี่ เราก็ต้องดูแลเรื่องกระบวนการเพาะปลูกข้าวทั้งระบบ เรียกว่า...
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2555)
ทัศนะของคนค้าขายกับพม่า
ในเรื่องการเกษตร หลายปีมานี้ผมนั่งถามตัวเอง แล้วก็ถามเพื่อนๆ ว่า พม่าเขาพัฒนาไปอย่างนี้ แม้ว่ายังต้องใช้เวลาแต่เขาก็พัฒนาไปเรื่อยๆ มีผลกับเรา เพราะว่าในตลาดข้าวมีซัปพลายเออร์อยู่แค่นี้
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2555)
เมื่อแชมป์เก่ามุ่งมั่นขอทวงตำแหน่งคืน
พม่ากำลังดำเนินการอย่างเข้มข้นในการยกระดับ “อุตสาหกรรมข้าว” ของตนเอง โดยมีเป้าหมายในการกลับคืนสู่ตำแหน่งประเทศผู้ส่งออกข้าวเป็นอันดับ 1 ของโลก และดูเหมือนปัจจัยหลายด้านก็กำลังเอื้อต่อย่างก้าวของพม่าในเรื่องนี้
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2555)
“ศูนย์กลางการค้าข้าว” เส้นทาง “ข้าวไทย” ในตลาดโลก
คำถามที่เกี่ยวเนื่องกับการก้าวไปสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในปี พ.ศ.2558 ที่น่าสนใจประการหนึ่งอยู่ที่ในฐานะที่ประเทศไทยเป็นผู้นำในการส่งออกข้าวของโลกจะใช้โอกาสนี้ในการปรับตัวและยกระดับสถานะการผลิต การค้า และการส่งออกของอุตสาหกรรมข้าวไทยได้อย่างไร
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2555)
อาหาร GMO ปัญหาใกล้ตัวและใหญ่ระดับโลก
เมือง Dendermonde ในเบลเยียม มีการเปิดพิจารณาคดีเกี่ยวกับพืชดัดแปลงตัดแต่งพันธุกรรม (genetically-modified organism (GMO) เมื่อเดือนพฤษภาคม มีนักเคลื่อนไหว 11 คนถูกฟ้องร้องในข้อหา ทำลายแปลงทดลองปลูกมันฝรั่ง GMO? คดีนี้ไม่เพียงเป็นที่สนใจในเบลเยียม แต่ยังเป็นที่สนใจไปทั่วโลก และเป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลต่อภาคการเกษตรของไทยด้วย ทั้งที่เป็นคดีความที่เกิดขึ้นในประเทศที่ห่างไกลจากไทย เพราะสาเหตุดังต่อไปนี้
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มิถุนายน 2555)
ตลาดลำไยในจีน
ประเทศจีนมีอัตราการเติบโตของจีดีพี 8 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากความต้องการอุปโภคบริโภค ทำให้ตลาดประเทศไทยได้รับผลดีในการส่งออกสินค้า โดยเฉพาะธุรกิจไม้ค่อนข้างได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก และหนึ่งในนั้นก็คือ ลำไย
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กุมภาพันธ์ 2555)
ดอยตุงโมเดล ต้นไม้ให้ป่า ผลผลิตให้ชุมชน
“สมัยก่อนเวลาถามว่าดอยตุงอยู่ตรงไหน เขาก็บอกนั่นแหละที่ดอยดินแดง เพราะภูเขามันโล้นไม่มีป่า เห็นแต่ดินสีแดง” อมรรัตน์ บังคมเนตร เจ้าหน้าที่ศูนย์พัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้ มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ทำงานที่ดอยตุง 17 ปี เป็นหนึ่งในทีมงานที่ซึมซับดอยตุงโมเดลและสามารถถ่ายทอดเรื่องเล่าความเป็นมาของดอยตุงได้เหมือนเจ้าหน้าที่ส่วนใหญ่ที่นี่
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กุมภาพันธ์ 2555)
ข้าวหอมมะลิแดงพันธุ์ใหม่
บริษัท ธุรกิจเพื่อพัฒนาการศึกษาและชนบท จำกัด (B.R.E.A.D.) มูลนิธิมีชัย วีระไวทยะ ร่วมกับบริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) หรือ ปตท.สผ.เปิดตัวผลิตภัณฑ์ข้าวหอมมะลิแดงพันธุ์ใหม่ขนาดบรรจุ 1 กิโลกรัม ตราข้าวโรงเรียนจากโครงการวิทยาลัยข้าวไทย ในงาน “อิ่มข้าวอิ่มบุญ อิ่มอุ่น อิ่มใจ” เพื่อตอบโจทย์คนรักสุขภาพ และมีจิตสาธารณะ
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กุมภาพันธ์ 2555)
หยิบสุขภาพดีใส่ตะกร้าที่ซูเปอร์มาร์เก็ตเห็ดสดแห่งเขาใหญ่
ขณะที่คนจีนยกย่องเห็ดหลายชนิดเป็นยาอายุวัฒนะ คนไทยเองก็รู้ว่าเห็ดมีประโยชน์หลายประการ แต่น้อยคนเคยพบเห็นเห็ดที่หลายหลากกว่า “เห็ดตลาด” และแทบไม่มีโอกาสได้เก็บเห็ดที่หลากหลายเหล่านั้นแบบสดๆ ด้วยน้ำมือของตัวเอง... หากไม่ได้มา “ที่นี่”
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2554)