ปิโตรเคมีแห่งชาติ จากเลวร้ายกำลังจะกลายเป็นดี
คงไม่แปลกอะไรที่จะกล่าวว่าโครงการปิโตรเคมีขั้นต้น (NPC-1) และปิโตรเคมีระยะที่ 2 (NPC-2) ที่กำลังดำเนินการอยู่ในขณะนี้ กว่าจะผ่านการเติบโตในแต่ละขั้นมาได้ ก็ต้องฟันฝ่ามรสุมมา ไม่น้อยเลยทีเดียว
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2531)
โอโซน VS. CFC
"ก็ไม่ใช่โดยสิ้นเชิงหรอก" นักวิทยาศาสตร์จะบอกกับคุณอย่างนี้ โอโซนคือสิ่งที่จะปกป้องคุณจากอันตรายของรังสีอุลตร้าไวโอเล็ต (UV ) ซึ่งสามารถทำลายออกซิเจนในอากาศชั้นบนที่ต่ำกว่า เป็นสาเหตุของโรคมะเร็งที่ผิวหนัง ชะลอวงจรชีวิตของพืช ลดคุณภาพสารผสมที่มนุษย์สร้างขึ้นเช่นพลาสติก เป็นต้น
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2531)
หนึ่งเดียวคนนี้ ดร.ศิริ จิระพงษ์พันธ์
คงไม่เพียงแต่คนที่ไม่เคยสนใจเรื่องราวเกี่ยวกับอุตสาหกรรมหนักมาก่อนเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงหลาย ๆ คนที่ศึกษาและติดตามข่าวคราวของ "ปิโตรเคมี" ที่คิดเช่นเดียวกันว่าเป็นเรื่องที่ยากยิ่งแก่การเข้าใจเสียเหลือหลาย
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2531)
ไทยบริดจสโตน คิวซีแห่งแรกของเมืองไทยไปถึงไหนแล้ว
ในตำราของสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยีไทยญี่ปุ่น ซึ่งเป็นตำราที่สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยีไทยญี่ปุ่นใช้สอนเรื่องคิวซีให้กับบริษัทและองค์กรต่าง
ๆ มีบันทึกตอนหนึ่งในบทของคิวซีเมืองไทยว่าในปี 2518 บริษัทไทยบริดจสโตน
จำกัด เป็นบริษัทแรกในเมืองไทยที่เริ่มนำระบบคิวซีเซอร์เคิลมาใช้อย่างจริงจัง
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2530)
ปุ๋ยแห่งชาติ ไม่มีอะไรใหม่
โครงการปุ๋ยแห่งชาติ ที่หลาย ๆ คนหลาย ๆ สำนักวิพากษ์วิจารณ์กันว่า จะเป็นปุ๋ยจริง
ๆ นั้นในช่วงเดือนที่ผ่านมา มีเพียงข่าวความเคลื่อนไหวของการตกลงกันระหว่าง
บริษัทปุ๋ยแห่งชาติกับกลุ่มชิโยดะฯ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2530)
เพราะคนชื่อ "ชาตรี-ชลัท" วัลลภ เจียรวนนท์ ยังต้องหนักใจ
ขณะที่ปัญหาสิทธิบัตรยายังยืดเยื้อคาราคาซัง ผู้ผลิตยาที่เป็นคนไทย รวมถึงนักศึกษาเภสัชศาสตร์ทั้งหลายต่างระดมพลังออกแรงระงับยับยั้งทุกวิถีทาง
ที่จะป้องกันไม่ให้บันทึกมรณะสิงหาคม 2529 (บันทึกที่สถานทูตสหรัฐอเมริกาทำเสนอต่อกระทรวงสาธารณสุข)
ได้มีโอกาสออกมาเพื่อเปิดทางให้บรรษัทยาข้ามชาติแฝงกายเข้ากอบโกยผลประโยชน์อย่างที่ต้องการ
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2530)