ปัญหากากเคมีใต้แผ่นดินเมืองกาญจน์ ยังไม่จบแต่ถูกกลบไว้
กากสารเคมีถูกฝังไว้ ณ เมืองกาญจน์ ท่ามกลางความไม่ยินยอมของ "เจ้าของบ้าน"
จนกระทั่งถึงวันนี้ ในขณะที่ฝ่ายรัฐเร่งยุติเรื่องโดยปิดตายหลุมฝังไปแล้ว
แต่ก็ยังมีข้อถกเถียงมาก ถึงความไม่ปลอดภัยในอนาคต
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2534)
ไทยออยล์พร้อมร่วมทุนพีทีเอ
ข่าวชะงักงันของบริษัท ไทยพีทีเอ จำกัด ในรองสองเดือนที่ผ่านมา ทำให้โครงการอะโรเมติกส์ของโครงการปิโตรเคมีระยะที่
2 ซึ่งเป็นขั้นตอนที่จะผลิตวัตถุดิบขั้นต้นของอุตสาหกรรมพลาสติกอุตสาหกรรมเคมี
และสิ่งทอนั้นดูจะพลอยมืดมัวไปด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2534)
ประหยัด 3,000 ล้านสร้างโอเลฟินส์
พละ สุขเวช ดูจะปลื้มกว่าใครที่การประมูลสร้างโรงงานเอททิลีนเฉียดสองหมื่นล้านของ
"ไทยโอเลฟินส์" พลิกความคาดหมายจากกลุ่มโตโยแห่งญี่ปุ่นเจ้าเก่ามาเป็นกลุ่มสโตนของสหรัฐฯ
ได้ในราคาที่ต่ำกว่าราคากลาง และเจรจาได้ถูกลงร่วมสามพันล้านบาท
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2534)
เร็นโทคิลไทยหลังจากเทคโอเวอร์ธุรกิจเวลคัม
ปี 2534 จะเป็นปีของการท้าทายสำหรับเร็นโทคิลในการที่จะสร้างธุรกิจของคาลมิค
เพื่อทำกำไรให้ทดแทนดอกเบี้ย หรือค่าใช้จ่ายจากการซื้อกิจการนี้มาจากเวลคัม
สำหรับประเทศไทยแล้วเร็นโทคิลอาจจะไม่ใช่บริษัทใหม่ แต่เมื่อเทียบกับเวลคัมแล้วยังเล็กกว่ามากนัก
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2534)
วิเทศ วิสนุวิมล มือปิโตรเคมีของปตท.
นักปิโตรเคมีในเมืองไทยนั้นเรียกว่านับตัวกันได้ทีเดียว…!
ที่มีอยู่และรู้จักกันดีก็มักจะทำงานในภาคเอกชน อาทิ ศิริ จิรยะพงษ์พันธ์
รองผู้จัดการอาวุโสดูแลสายงานด้านปิโตรเคมี ธนาคารกรุงเทพ จากเดิมซึ่งเคยอยู่บริษัท
ปิโตรเคมีแห่งชาติ จำกัด (ปคช.) ประมวล เลี่ยวไพรัตน์ ผู้ดูแลการบริหารโรงงานผลิตเม็ดพลาสติกพีอีของบริษัท
อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย จำกัด (ทีพีไอ)
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2534)
ปิโตรเคมี 2 พังแล้ว
เมษายนนี้ เป็นกำหนดชี้ชะตาของปิโตรเคมี 2 โครงการที่มีอันต้องชะงัก เนื่องจากผลพวงของวิกฤติอ่าวเปอร์เซีย โดยทีมปฏิบัติงานได้สรุปเลื่อนโครงการออกไป และยังไม่รู้จะต้องเลื่อนไปอีกนานเท่าไหร่ ในเมื่อยังตกลงราคาวัตดุดิบขั้นต้นไม่ได้ ทำให้ผู้ผลิตและบริษัทผู้ซื้อวัตถุดิบต่างรอดูท่าทีกันว่าใครจะเริ่มก่อน
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2534)
ทำไมวัฒนรับเบอร์ เมท จึงต้องควบสินทรัพย์ กับเนเจอร์ฟาร์ม
บริษัทวัฒนชัยรับเบอร์ เมท จำกัด กลายเป็นตัวอย่างของธุรกิจอุตสาหกรรมที่พยายามดิ้นรนหาทางออกให้กับสินค้าของตัวเอง ในสภาวะที่ตลาดอยู่ในขั้นตกต่ำถึงที่สุด ในช่วงปี 2530 เป็นช่วงที่ตลาดมีความต้องการถุงมือยางค่อนข้างมากโดยเฉพาะในตลาดสหรัฐอเมริกา
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2534)
ทีพีซี : ก่อนจะถึงวันนี้
2509 จดทะเบียนบริษัทด้วยทุน 10 ล้านบาท 2514 เริ่มผลิตพีวีซีเรซินและพีวีซีคอมเปาน์ดสู่ตลาดครั้งแรก ด้วยกำลังการผลิต
20,000 ตันต่อปี
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2533)