3+1 กลยุทธ์สู้อาณาจักรทีพีไอ
การที่ค่ายทีพีไอ ผู้บุกเบิกอุตสาหกรรมเม็ดพลาสติก และกล้าชนกับปูนใหญ่ด้วยการฝ่ายด่านลงสู่ธุรกิจปูน
แล้วยังแตกหน่อบริษัทออกไปมากมายในวันนี้พูดได้ว่า อาศัย 3 กลยุทธ์หลัก คือ
กล้า..ใหญ่..ลึก..และอีกปัจจัยเสริม ด้านเทคโนโลยี โดยมีประชัย พี่ใหญ่ตระกูลเลี่ยวไพรัตน์เป็นคนชูธงรบ..!
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2536)
"เบื้องหลังขายที่ดินสร้างโรงงานประกอบชิ้นส่วนเครื่องบิน"
ความสำเร็จในเบื้องแรกของระยองอินดัสเตรียลปาร์ค ที่สามารถดึงดูดให้บริษัทต่างชาติหลายๆ
บริษัท ไม่ว่าจะเป็นบริษัท Wang Sang ผู้ผลิตของเล่นพลาสติกจากไต้หวัน บริษัท
Astronic เป็นบริษัทร่วมทุนระหว่างนักลงทุนไต้หวันและเยอรมัน เพื่อผลิต Power
Supply บริษัท Thai Fluorine Chemical เป็นบริษัทผลิตสินค้าประเภทเคมีภัณฑ์
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2536)
อภิพร ภาษวัธน์ งานนี้ห้ามกระพริบตา
สงครามเศรษฐกิจระหว่างปูนซิเมนต์ไทย กับปิโตรเคมิกัลไทย (TPI) เป็นข่าวคราวที่หลายคน สงสัยว่าเกิดอะไรขึ้นกับยักษ์ใหญ่ทั้งสอง ที่จู่ ๆ หันหน้ามาชนกันยังกะเป็นศัตรูกันมานานนับศตวรรษ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2535)
"ยิบ&แย๊คส์ จากธุรกิจครอบครัวสู่ตลาดหุ้น"
หลังจากถูกตลาดหลักทรัพย์ปฏิเสธที่จะรับเข้าเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนด้วยเหตุผลที่ว่าบริษัทยิบอินซอยและแย๊คส์
(ยิบ&แย๊คส์) เป็นกิจการพาณิชย์ประเภทนำเข้าและส่งออกเท่านั้น มีลักษณะคล้ายตัวแทนการค้าซึ่งไม่จำเป็นที่จะต้องใช้ทุนในการขยายกิจการมากนัก
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2535)
"ด่าน "อาฟต้า" 5 ปีจะพิสูจน์ว่าใครแน่กว่ากัน…?"
อุตสาหกรรมพลาสติกและน้ำมันพืชเป็น 2 กลุ่มสินค้าใน 15 กลุ่มที่รับผลสั่นสะเทือนจากการจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน
(AFTA) อย่างหนักหน่วง เพราะมีกำแพงภาษีสูงสุดถึง 40% ตามเป้าประสงค์ในการสลายธุรกิจที่ไม่ยอมโตด้วยตัวเอง
และ เพื่อผนึกกำลังต่อรองกับกลุ่มการค้าเฉพาะของโลกได้อย่างแข็งขันมากขึ้น
โดยใช้วิธีการทลายกำแพงภาษีให้หมดลงที่ 0% ใน 15 ปี และเริ่มลดเหลือ 20%
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2535)
อี๊สต์เอเชียติ๊ก ผลัดแผ่นดิน"จองเคียร์" เปิดทางคนไทยเป็นใหญ่
อี๊สต์เอเชียติ๊ก (ประเทศไทย) เป็นเทรดดิ้งเฟิร์มเก่าแก่อายุไม่ต่ำกว่า
100 ปี สำนักงานที่ตั้งอยู่ริมน้ำเจ้าพระยายังคงรูปลักษณ์ตะวันตกอันภาคภูมิทั้งภายในและภายนอก
สายน้ำที่ไหลเอื่อย ๆ เป็นเช่นนี้นับร้อยปี ขณะที่วัฒนธรรมการบริหารที่อี๊สต์เอเชียติ๊กเปลี่ยนแปลงน้อยมากด้านผู้นำที่มีฝรั่ง
เป็นนายเสมอมา
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2535)
"ศึกแทงค์ฟาร์ม" แนวรบชายฝั่งตะวันออก
ศึกแทงค์ฟาร์มกำลังระอุ เมื่อทางฝ่ายบริษัท ไทยแทงค์ขอเลื่อนการเซ็นสัญญากับกนอ.
(การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย) หลังจากที่บริษัทได้ชนะการประมูลสัมปทาน
30 ปี
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2535)
ศรีกรุง เริ่มฟื้นจากไข้เพราะญี่ปุ่น
กลุ่มศรีกรุงวัฒนาปรับโครงสร้างกิจการโดยแยกแยะบริษัทในเครือกว่า 40 แห่งออกเป็น
4 ธุรกิจหลัก ปุ๋ยยังเป็นธุรกิจสำคัญที่ทำรายได้อันดับหนึ่งให้แก่กลุ่มฯ
ขณะที่ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ยังไม่รู้อนาคตว่าจะเกิดเมื่อไหร่
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2534)
"ทุนเท็กซ์" คว้าโครงการพีทีเอ ชัยชนะของ "แบงก์กรุงเทพ"
หลายคนบอกว่างานนี้เป็นชัยชนะของแบงก์กรุงเทพ วันนั้น 30 กันยายน 2534 บอร์ดใหญ่ของบีโอไอซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานโดยตำแหน่งได้ตัดสินให้บริษัท ทุนเท็กซ์ ไต้หวันเป็นผู้ชนะในโครงการพีทีเอ เฉือนอโมโก้จากสหรัฐอเมริกาไปอย่างลอยลำทั้งที่เดิมอโมโก้เป็นตัวเต็งที่ทุกฝ่ายเห็นว่าเขาจะคว้าชัยชนะในครั้งนี้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2534)