บทเรียนที่ลืมไม่ลง
ช่วงที่วิวรรธ์ และสาธิต เหมมณฑารพ บริหารงานอย่างเต็มตัว โดยตัดสินใจกู้เงิน 2.6 ล้านเหรียญดอลลาร์ในช่วงต้มยำกุ้ง เกือบทำให้บริษัทไปไม่รอด
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา พฤษภาคม 2555)
ปัญจวัฒนาพลาสติก ปรับเพื่ออยู่รอด
บริษัท ปัญจวัฒนาพลาสติก จำกัด ตัดสินใจเข้าตลาดหลักทรัพย์เอ็มเอไอ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา เพราะมีเป้าหมายจะโตแบบก้าวกระโดด ทำให้บริษัทต้องปรับตัวหลายครั้งหลายครา
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา พฤษภาคม 2555)
The Power of Synergy The Power PTTAR
หากกำไรที่เพิ่มขึ้นกว่า 1.7 หมื่นล้านบาท ของ “PTTAR” เป็นผลความสำเร็จจากนโยบายควบรวมกิจการเมื่อปี 2550 สิ่งที่น่าจับตาที่สุดสำหรับนักลงทุนในตลาดหุ้นไทยในช่วงนี้ คงหนีไม่พ้นบทสรุปการควบรวมระหว่างบริษัทในกลุ่มธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่นของเครือ ปตท.ที่หลายคน โดยเฉพาะชายน้อย เผื่อนโกสุม เชื่อว่าจะเป็น “ดีลแห่งปี”
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มิถุนายน 2553)
TPI ดีลประวัติศาสตร์ที่ต้องบันทึก
หลังตกอยู่ท่ามกลางความขัดแย้งที่มากมายในการปรับโครงสร้างหนี้ฟื้นฟูกิจการ ซึ่งต้องใช้เวลายืดเยื้อยาวนานเกือบ 10 ปี จนเมื่อปลายเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา บริษัทอุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย หรือทีพีไอ จึงได้ออกจากแผนฟื้นฟูกิจการตามคำสั่งศาลล้มละลายกลาง
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2549)
Investment for Growth
หลังจากผ่านพ้นช่วงวิกฤติเศรษฐกิจและพลิกฟื้นฐานะกลับคืนมาได้อีกครั้ง ปัจจุบันความมั่นคงทางการเงินของเครือซิเมนต์ไทยถือได้ว่าแข็งแกร่งกว่าในช่วงก่อวิกฤติเสียอีก มาตรวัดหนึ่งที่ชี้ให้เห็นได้ชัดเจนคือสัดส่วนระหว่างหนี้สินและ EBITDA (Net Debt/EBITDA)
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2549)
งานแรกของกานต์
การแถลงข่าวผลการดำเนินงานปี 2548 เมื่อวันที่ 25 มกราคมที่ผ่านมา เป็นการออกงานครั้งแรกในบทบาทกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย ของกานต์ ตระกูลฮุน และเป็นครั้งแรกอีกเช่นกันที่ได้มีการย้ายห้องแถลงข่าวจากห้องท่าหลวง ที่เคยใช้มาตลอดในสมัยของชุมพล ณ ลำเลียง มาเป็นห้องบางซื่อ ซึ่งเป็นห้องที่ใช้ในการจัดสัมมนาของเครือ
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2549)
Life with TOC
วงจรขาขึ้นของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีรอบนี้ ช่วยให้ไทยโอเลฟินส์พลิกฟื้นฐานะที่เคยย่ำแย่กลับมาเป็นบริษัทดาวเด่นแห่งหนึ่งในตลาดหลักทรัพย์ฯ ขณะเดียวกันก็วางกลยุทธ์เพื่อเตรียมรับช่วงขาลงที่อาจจะมาถึงในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า โดยเริ่มขยับเข้ามาใกล้ผู้บริโภคมากขึ้นเรื่อยๆ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2548)
ชลณัฐ ญาณารณพ เบอร์ 5 ที่กำลังจะเป็น 1
การแต่งตั้งรองผู้จัดการใหญ่ ธุรกิจหลักของเครือซิเมนต์ไทยพร้อมกัน 5 คน เมื่อกลางปีก่อน ชลณัฐ ญาณารณพ เป็นคนที่มีอายุน้อยที่สุด เขาจะมีอายุครบ 46 ปี ในเดือนธันวาคมนี้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2548)
กลุ่มนี้ไม่มี "นายช่าง"
นอกจากปิโตรเคมีจะเป็นธุรกิจใหม่ที่เครือซิเมนต์ไทยเพิ่งเข้าไปจับได้เพียง 20 ปีเศษแล้ว บุคลากรของกลุ่มนี้ถือว่าเป็นคนรุ่นใหม่ มีวัฒนธรรมและบุคลิกที่แตกต่างไปจากคนปูนซิเมนต์ไทยในอดีต
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2548)
Petrochemical Edge
การที่พลาสติกกลายเป็นสินค้าอุปโภคบริโภคที่เข้ามาใกล้ชิดชีวิตประจำวันของคนทุกๆ คน ถือเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เชื่อมั่นได้ว่า หากจะมองการพัฒนาเครือซิเมนต์ไทยนับจากนี้ไปต้องโฟกัสที่กลุ่มปิโตรเคมีเป็นหลัก
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2548)