"ลิขสิทธิ์" อาวุธชั้นดีในศึกการ์ตูนญี่ปุ่น
"การ์ตูนญี่ปุ่น" เคยถูกมองว่าเป็นเรื่องหลอกเด็ก แต่มาวันนี้กลับกลายเป็นตลาดชิ้นใหญ่มูลค่ามหาศาลที่ยักษ์เกือบทุกค่ายโดดลงมาเล่น
และเป็นกรณีศึกษาที่น่าสนใจเมื่อการเผชิญหน้ากันนั้นใช้เรื่องกฎหมายลิขสิทธิ์เป็นเครื่องมือ
ทั้งที่เมื่อก่อนมีแต่คนส่ายหน้า
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2538)
การ์ตูน ธุรกิจหมื่นล้าน " พูดเป็นหนังการ์ตูนไปได้"
อุตสาหกรรมการ์ตูน ที่ผนึกกระแสการตลาด กับธุรกิจข้ามโลกในรูปของ Financise และ License เป็นเครื่องทิศทางใหม่ของกระแสธุรกิจและวัฒนธรรมของสังคมไทย ในอนาคตต่อการอุปโภคบริโภค ผลิตภัณฑ์จาก" ตัวการ์ตูน" มิกกี้เม้าส์ ไลอ้อนคิงส์ ฟลิ้นท์สโตน เฮลโลคิดตี้ กบเคโรปี้ ดรากอลบอลล์ ฯลฯ ที่นักการตลาดไทยใช้กลยุทธ์ผสมผสานระหว่างความฝันอันสวยงามกับความเป็นจริง ล่อเงินนับหมื่นล้านออกจากกระเป๋า ครอบครัวของคนรุ่น "X " อย่างน่าจับตา
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2537)
"การ์ตูนญี่ปุ่น : เรื่องเบาๆ ราคาพันล้าน"
อุตสาหกรรมการ์ตูนญี่ปุ่นไม่ใช่ใหญ่เฉพาะในบ้าน ด้วยยอดขาย 5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐเท่านั้น แต่ยังครองตลาดทั่วเอเชียด้วย เมื่อ "คัลเจอร์คอม" ซึ่งบริษัทผู้ผลิตหนังสือการ์ตูนในฮ่องกงมีความต้องการการ์ตูนเรื่องใหม่ๆ มาป้อนตลาด เพื่อรักษาส่วนแบ่งของตนในธุรกิจนี้ คัลเจอร์คอมตัดสินใจเลือก "มังกะ" (MANGA) หรือการ์ตูนญี่ปุ่น มาเสนอต่อผู้อ่าน
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2537)
"กรุงเทพ-เฉลิมกรุง 2 โรงละคร 2 ลีลา"
โรงละครสองโรงปักหลักเปิดการแสดงเรียกคนดูอยู่คนละมุมเมืองของกรุงเทพโรงแรก "โรงละครกรุงเทพ" บนถนนเพชรบุรีตัดใหม่ เยื้องซอยศูนย์วิจัย ในนามของบริษัทกรุงเทพโรงละคร เปิดตัวไปก่อนเมื่อปลายเดือนกรกฎาคม อีกไม่ถึงหนึ่งเดือนถัดมาโรงละครเฉลิมกรุงรอยัลเธียเตอร์ที่แปลงโฉมมาจากโรงหนังเฉลิมกรุง ก็ได้ฤกษ์เบิกโรง
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2536)
"คาราโอเกะ" มรดกญี่ปุ่นเบ่งบานในแดนสยาม"
"คาราโอเกะ" ดนตรีที่ว่างเปล่า ความบันเทิงอันชื่นชอบของคนญี่ปุ่น
กำลังฮิตและระบาดในเมืองไทย นับเป็นการลงทุนแห่งยุคสมัยในธุรกิจบันเทิง ด้วยจุดเด่นที่ขายความสุขสนุกสนานกับการแสดงออกทางเสียงเพลงโดยไม่ต้องอาศัยวงดนตรี
วันนี้…คลับคาราโอเกะได้ผุดขึ้นมามากมายบนถนนบันเทิงยามราตรีและมีทีท่าว่าอีกนานกว่าจะถึงจุดอิ่มตัว
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2536)
ชีวิต ดนตรีและเงินล้านของพอล แมคคาร์ทนีย์
เอ่ยชื่อพอล แมคคาร์ทนีย์ หลายคนคงร้อง “อ๋อ” กับอดีตสมาชิกวงดนตรีสี่เต่าทอง หรือ “เดอะ บีเทิล” อันเลื่องลือ ที่กลายเป็นตำนานเล่าขานกันไม่จบผู้นี้ แต่ ณ วันนี้แมคคาร์ทนีย์ในวัยวันที่อายุล่วงกว่าครึ่งศตวรรษแล้ว ยังคงเป็นคนธรรมดา ๆ คนหนึ่งและด้วยความคิดเช่นนี้เองทำให้เขาแตกต่างไปจาก นักร้องชื่อดังรายอื่นที่มักเผชิญกับหายนะแห่งชีวิต เพราะหลงติดอยู่กับความสำเร็จและเงินตรา
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2535)
เปิดโปงมาเฟียวิดีโอ
เมื่อปลายปี 2533 ที่ผ่านมา มีสมาคมเกี่ยวข้องกับการผลิตและจำหน่ายเทปวิดีโอแห่งสหรัฐอเมริกาได้ยื่นฟ้องรัฐบาลไทยต่อ
คราร่าฮิลล์ ผู้แทนการค้าของเขาให้พิจารณาใช้มาตรการอย่างแข็งกร้าวถึงขั้นเสนอใช้มาตรา
301 กับไทยที่ไม่เข้มงวดในการให้ความคุ้มครองลิขสิทธิ์และไม่จริงจังในการแก้ไขปัญหาของรัฐบาล
รวมไปถึงการไม่มีความพยายามที่จะแก้ไขปรับปรุงกฎหมายให้เข้มงวดมากขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2534)
การต่อสู้ครั้งใหม่ของ "ผิน คิ้วไพศาล"
นับจากวันที่ 9 ธันวาคมนี้ไปการต่อสู้ของคนที่ชื่อผิน คิ้วไพศาลกับโครงการสวนสัตว์ซาฟารีเวิลด์จะเริ่มต้นขึ้นอีกครั้งหนึ่งหลังจากการประกาศปิดโครงการเพื่อทำการปรับปรุงสวนสัตว์ใหม่ไปเมื่อวันที่
17 เมษายน 2532 ซึ่งถ้านับจากวันนั้นจนถึงวันที่จะมีการเปิดตัวอย่างเป็นทางการกินเวลานานถึง
17 เดือนเศษ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2533)
ลีลาศบนบันไดเสียงคลาสสิก
ยุคดิสโก้เทคบูมค่อย ๆ เลือนหายไปจากฟ้าราตรีของเมืองบางกอก กิจการ "ผับ"
ที่ใครต่อใครเชื่อกันว่าจะรุ่งเรืองไปอีกยาวนาน แต่กลับรีบพับฐานลาจากไปเสียก่อนกำหนดคาดหมาย
"สีลมพลาซ่า" ที่เคยโด่งดังกำลังจะกลายเป็น "สีลมป่าช้า"
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2533)