ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม เถ้าแก่ธุรกิจบันเทิงแบบสบาย…สบาย
ทุกข้อต่อการเติบโตของไพบูลย์ ดำรงชัยธรรมทั้งในชีวิตคนโฆษณา นักการตลาด
คนทำหนังสือ จนถึงวันที่ก้าวขึ้นเป็นผู้ประกอบการเต็มตัวมีคนมากมายหยิบยื่นโอกาสให้
และเขาไม่พลาดที่จะคว้าโอกาสนั้นอย่างถูกจังหวะ
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2530)
"กันตนา" คือ "กัลย์จาฤก" ครอบครัวธุรกิจบันเทิง
การทำงานระบบครอบครัวที่เหนียวแน่น มีส่วนช่วยผลักดันให้กันตนาเติบโตขึ้นเร็วมากในช่วง
10 ปีที่ผ่านมา เมื่อ 20 - 30 ปีก่อน ประดิษฐ์โชว์ฟอร์ม ONE MAN SHOW มาตลอด
แต่กันตนาก็หนีลักษณะธุรกิจบันเทิงของเมืองไทยส่วนใหญ่ไม่พ้น คือเป็นครอบครัวธุรกิจบันเทิง
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2529)
ประดิษฐ์ กัลย์จาฤก กับ บัญญัติ 9 ประการในชีวิต
ประดิษฐ์อยู่บนถนนธุรกิจบันเทิงมา 40 กว่าปีแล้ว บางครั้งเขาเดิน บางครั้งเขาวิ่ง
และบ่อยครั้งที่ถึงจุดหมายก่อนคนอื่น เขาไม่เคยผ่านมหาวิทยาลัยที่สอนเกี่ยวกับการสื่อสารมวลชน
ไม่เคยผ่านโรงเรียนฝึกสอนการแสดง แต่เขาเป็นศิลปินที่มีพรสวรรค์ ช่างจดจำ
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2529)
ไตรภพ ลิมปพัทธ์ เขามากับ "เกมส์โชว์"
หลังจาก ไตรภพ ลิมปพัทธ์ เข้าสู่โลกธุรกิจบันเทิงเป็นพิธีกรจัดรายการเกมส์โชว์ให้บริษัท
เจ เอส แอล ได้ 2 ปีกว่า เขาก็สามารถตั้งบริษัท บอร์น ออปเปอเรชั่น จำกัด
ได้เมื่อเดือนพฤศจิกายน ปี 2527
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2529)
บางกอกอินเตอร์-คลับ คลับชั้นดีสำหรับคนชั้นกลาง
กรุงเทพฯ นั้นเป็นเมืองใหญ่แห่งหนึ่งของโลก
การไหลบ่าเข้ามาของ “วัฒนธรรมเมืองใหญ่” จึงดูเหมือนว่าจะเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้
เช่นเดียวกับที่เมืองใหญ่ทั้งหลายในโลกนี้ก็ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้เช่นกัน
ไม่ว่าจะชอบหรือไม่ชอบก็ตาม
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2529)
ของเด็กเล่นอุตสาหกรรมเคร่งเครียดบนความสนุกสนาน
ของเด็กเล่นเป็นอุตสาหกรรมในครัวเรือน ที่คนไทยทำกันมานานแล้ว
มีผู้คะเนว่าน่าจะมีคนไทยผลิตของเด็กเล่นกันอย่างจริงจังไม่น้อยกว่า 200
โรงงาน หรืออาจจะมากกว่านั้น กระจายอยู่ตามห้องแถวขนาดไม่กี่คูหาทั้งในเขตเมืองและแถบชานเมือง
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2528)
เฮริเทจ สโมสรชั้นสูงสำหรับนักธุรกิจชั้นนำ
เฮริเทจ (HERITAGE) เป็นชื่อสโมสรแห่งใหม่ซึ่งจะตั้งอยู่ชั้นบนสุดหรือที่เรียกกันว่า
ชั้นเพนท์เฮ้าส์ของอาคารศูนย์การค้าอมรินทร์พลาซ่า ถนนเพลินจิต โดยมีกำหนดจะทำพิธีเปิดในเดือนธันวาคม
2528 นี้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
ฆ่ากันในวงการธุรกิจ
การตายของเสกสรร สัตยา นักธุรกิจด้านบันเทิง ที่ถูกตั้งฉายาว่า เฮฟเนอร์เมืองไทยนั้น นอกจากจะเป็นการตายที่ค่อนข้างจะหฤโหดแล้ว ยังแสดงให้เห็นถึงสัจธรรมในการทำการค้าขายในเมืองไทยด้วยว่า ลูกปืนยังมีบทบาทสำคัญในการดำเนินธุรกิจในสังคม ที่ค่อนข้างจะด้อยพัฒนามากๆ ในจิตใจของนักธุรกิจส่วนใหญ่ของเมืองไทย
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2527)