100 ปี เกาะภูเก็ต จากยุคเหมืองแร่ สวนยาง สู่การท่องเที่ยว
จังหวัดภูเก็ต เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในทางภาคใต้ฝั่งทะเลอันดามัน ถูกตัดขาดจากแผ่นดินใหญ่จังหวัดพังงาเพียง
1,000 เมตร ด้วยช่องปากพระ ที่มีน้ำขึ้น-ลงไหล ผ่านเชี่ยวกรากหากนับระยะทางจากกรุงเทพฯถึงภูเก็ตในปัจจุบันก็ร่วม
900 กิโลเมตร
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2542)
เหมืองบ้านปู "ขายเพื่อโต"
"เราขายลานนาลิกไนตโนธุรกิจสายอื่น" นั่นคือเบื้องหลังที่บริษัท
เหมืองบ้านปู จำกัดตัดสินใจขายหุ้นออกไปตามเจตนารมย์ที่เคยคิดไว้ก่อนหน้านี้
แหล่งข่าวที่เกี่ยวข้องกล่าว
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2536)
"เหมืองบ้านปู" ผู้ที่จะผงาดขึ้นภายหลังจากวิกฤตการณ์น้ำมันจบสิ้น
ในภาวะที่ประเทศไทยกำลังได้รับการพัฒนาให้ก้าวขึ้นสู่ความเป็นประเทศอุตสาห-กรรมใหม่
กิจการที่เน้นในด้านการผลิตและจัดหาพลังงาน ซึ่งถือเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญที่สุดของอุตสาหกรรมทุกประเภท
จัดได้ว่ามีแนวโน้มที่จะขยายตัวออกไปได้อย่างกว้างไกลกว่าเพื่อน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2533)
การฟื้นตัวไทยผลิตภัณฑ์ยิบซั่ม
ยี่สิบสองปีที่แล้ว ไทยผลิตภัณฑ์ยิบซั่มเกิดขึ้นด้วยความตั้งใจของเจ้าของเหมืองแร่ยิบซั่มหญิงคนหนึ่ง
ที่ต้องการพัฒนาแร่ที่ขุดขึ้นมาให้มีค่ามากกว่าการส่งไปขายเมืองนอก แต่การยกระดับจากการขุดแร่ขายขึ้นมาเป็นผู้ผลิตและจำหน่ายแผ่นยิบซั่มซึ่งมีความซับซ้อนมากกว่าไม่ใช่เรื่องง่าย
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2533)
ผาแดงแรงฤทธิ์
ผาแดงอินดัสทรี-บริษัทที่สะท้อนการประสานระหว่างกลไกรัฐกับภาคเอกชนอย่างแน่นแฟ้นที่สุดในการสร้างอุตสาหกรรมพื้นฐาน
มีการบริหารการผลิตด้วยเทคโนโลยีที่ล้ำเลิศของเวียงมองตานแห่งเบลเยียม มีสถาบันการเงินยักษ์ใหญ่อย่างแบงก์กรุงเทพ
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2531)
ถลุงแร่เหล็กให้ดีขึ้น-ใช้ถ่านหินให้น้อยลง
ปัจจุบันโรงถลุงแร่เหล็กในสหรัฐอเมริกาต้องใช้ถ่านหินที่เผาจนหมดควันถึงประมาณปีละ 1.5 ล้านตัน คิดเป็นเงินก็ 225 ล้านดอลลาร์ ในการผลิตแร่เหล็กแต่ละปี ซึ่งนักวิจัยหลายคนในมหาวิทยาลัยแห่งรัฐเพนซิลวาเนียคิดว่าจะสามารถลดค่าใช้จ่ายจำนวนนี้ลงได้ถึง 25% ด้วยอลูมินั่ม
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2531)