เรื่องราวของพ่อมดน้อย แฮร์รี่ พอตเตอร์
กระแสความแรงของวรรณกรรมเยาวชน "แฮร์รี่ พอตเตอร์" ที่โด่งดังไปทั่วโลกนั้น
ได้ทำให้ เจ.เคโรว์ลิ่ง ผู้หญิงแม่บ้านธรรมดาคนหนึ่ง ซึ่งไม่เคยประสบความสำเร็จในการแต่งหนังสือขาย
มาก่อนเลย กลายเป็นอภิมหาเศรษฐีคนหนึ่งของโลก ภายในพริบตา
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2544)
ทำไมต้องมี นสพ.เนชั่น "คมชัดลึก"
ถึงแม้ว่าในช่วงหลายปีมานี้ เนชั่นจะขยายบทบาท เข้าไปยังสื่อทีวี แต่ในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
เนชั่นก็ต้องหันมาเพิ่มบทบาทธุรกิจสิ่งพิมพ์
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2544)
E-Book
สตีเฟน คิง (Stephen King) นักเขียนนวนิยายเขย่าขวัญ ประกาศหยุดเขียนนวนิยายเรื่อง
The Plant ซึ่งพิมพ์ขายเป็นตอนๆ ทาง Internet หลังจากเขียนไปแล้ว 6 ตอน นวนิยาย
เรื่องนี้เข้าสู่ cyberspace ในเดือนกรกฎาคม 2543 และสิ้นชีพในเดือนธันวาคม
ศกเดียวกัน สาเหตุสำคัญส่วนหนึ่งเป็นเพราะผู้อ่านเมื่อ down- load ต้นฉบับแล้ว
เบี้ยวไม่จ่ายค่าหนังสือ โดยที่อัตราการเบี้ยวหนี้เพิ่มขึ้นตามลำดับ แต่สาเหตุ
สำคัญยิ่งกว่า ก็คือ ยอดการจำหน่ายทาง Inter-net น่าผิดหวัง
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2544)
News Model (3) National Newspaper
แนวคิดสำคัญของผม ที่ว่าด้วยเรื่อง National Newspaper เมื่อ 8 ปีที่แล้ว ที่เสนอให้ผู้อ่านหนังสือพิมพ์ส่วนใหญ่ของประเทศ
มีสิทธิ์ในการอ่านอย่างเท่าเทียมกัน โดยเฉพาะในเรื่องเวลา เพื่อให้เป็นสินค้า ที่มีมาตรฐานเดียวกัน
ทั่วประเทศนั้น ยังมีความสำคัญอย่างมากในยุคอินเทอร์เน็ต ที่กำลังขยายอิทธิพลอย่างกว้างขวางในปัจจุบัน
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2544)
3 สิงหาคม 2542 "ผู้จัดการ" ฟื้นฟูกิจการ
แผนฟื้นฟูกิจการของบริษัทแมเนเจอร์มีเดีย กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) หรือกลุ่มผู้จัดการ
ผ่านการเห็นชอบของเจ้าหนี้แล้ว โดยใช้เวลาประมาณ 9 เดือนจากวันเริ่มเสนอแผน
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2542)
ดอกหญ้าพลิกกลยุทธ์สู้ศึก'41 เสิร์ฟถึงบ้าน "หนังสือจานด่วน"
ขณะที่ธุรกิจสำนักพิมพ์และร้านหนังสือกำลังประสบปัญหาอย่างหนัก เนื่องจากต้นทุนกระดาษที่ปรับตัวสูงขึ้นมาก
แต่ยอดขายกลับทรุดฮวบ หลายบริษัทปิดตัวลงเพราะรับภาวะการขาดทุนไม่ไหว ปล่อยให้ค่ายใหญ่ๆ
ได้ประลองฝีมือ กันเต็มพิกัด ใครมีไม้เด็ดเคล็ดวิชาอะไรก็งัดกันขึ้นมาใช้ซะให้หมด
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2541)
"สิ่งพิมพ์กีฬา เงยหน้าไม่อายฟ้า ก้มหน้าไม่อายดิน"
ดูเหมือนคอลัมนิสต์กีฬานาม "คุณตุ๋ย" แห่งหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ
เรียกระวิ โหลทองว่า "ผู้ยิ่งใหญ่ที่ใหญ่ทุกอย่าง"
อาจเป็นเพียงคำสัพยอกกันในหมู่พี่น้องเพื่อนฝูงแต่ก็เป็นความนัยที่ระบุถึงความสำเร็จอันยิ่งยง
เทียบกับความเห็นของเหยี่ยวข่าวที่เคยทำงานใน "ทิศทางธุรกิจ" หนังสือพิมพ์ในเครือสยาม
สปอร์ต
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2540)
"ปีแห่งฝันร้ายของหนังสือพิมพ์"
ธุรกิจหนังสือพิมพ์เริ่มถูกจับตามองไม่แพ้ธุรกิจอื่นๆ ในยามเศรษฐกิจซบ หลายบริษัทสิ่งพิมพ์ที่ไม่ใช่
KING OF CASH กำลังจะสูญหายตายจาก แต่สิ่งพิมพ์ก็คือแหล่งความมั่งคั่งในยุคทางด่วนสารสนเทศ
นี่คือช่วงเวลาที่ผู้บริหารและนักข่าวจะต้องร่วมร้องเพลง "เราจะมีความทุกข์ร่วมกัน"
เนื่องเพราะ INVISIBLEHAND ในเชิงเศรษฐศาสตร์ยินดีมอบชัยชนะให้กับกลุ่มที่เต็มไปด้วยกลยุทธ์
ชั้นเชิงในการบริหารและมีพลังใจที่จะต่อสู้เพื่อความอยู่รอดเท่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2540)
"วิเนต พันธุนะ กับงานในร้าน 'Bookazine'"
"บุ๊คกาซีน" เป็นหนึ่งในสองร้านหนังสือที่ขายเฉพาะหนังสือต่างประเทศนอกเหนือจาก
"เอเชียบุ๊ค" ในช่วงปีที่ผ่านมาจะเห็นร้านดังกล่าวมีกิจกรรมแนะนำหนังสือและเชิญนักเขียนมาเปิดตัวหนังสือไม่ต่ำกว่า
6-7 ครั้ง ถือเป็นความสำเร็จในขั้นหนึ่งสำหรับการทำความรู้จักกับนักอ่านของร้านหนังสือที่ตั้งมาเพียง
6-7 ปีเท่านั้น
ความสำเร็จส่วนหนึ่งเป็นผลงานของวิเนต พันธุนะ ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการ
แผนกจัดซื้อและโฆษณา ของบริษัทดิสทริ-ไทย เจ้าของร้านบุ๊คกาซีน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2540)
20 ปีแห่งความสำเร็จของ ชูเกียรติ อุทกะพันธุ์
เมื่อเอ่ยถึงชื่อหนังสือ "บ้านและสวน" น้อยคนนักที่จะไม่รู้จักหนังสือเล่มนี้
แต่จะมีสักกี่คนที่รู้ว่า "บ้านและสวน" ได้เติบโตมาพร้อม ๆ กับสำนักพิมพ์อมรินทร์
หรือที่คุ้นเคยกันในนามของบริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด
(มหาชน) เจ้าของนิตยสารชื่อดังอีก 4 ฉบับ "แพรว" "แพรวสุดสัปดาห์"
"LIFE & DECOR" และ "TRENDY MAN" รวมถึงหนังสือเล่มอีกหลายร้อยเรื่อง
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2540)