"การคงอยู่ของชนรุ่น 3 เตี่ยกับเสี่ยในว่องวานิช"
ตระกูลว่องวานิชถือกำเนิดจากหมอล้วน ว่องวานิชมีเชื้อสายเป็นชาวไหหลำ ที่เกิดในประเทศจีนเมื่อปี
พ.ศ. 2434 หมอล้วนมีพี่น้อง 3 คนทั้งพ่อและแม่เสียชีวิตเมื่อเขามีอายุได้
8 ปีส่วนน้องชายเสียชีวิตตั้งแต่ยังเยาว์
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2535)
"โยกย้ายผู้บริหารโอสถสภาฯ ก็ยังขาดแคลนมืออาชีพ"
เมื่อกลางเดือนพฤษภาคมอันเป็นช่วงที่เกมการเมืองของไทยกำลังคุกรุ่นไปด้วยปัญหาโครงสร้างของรัฐบาล
ที่มติของประชาชนส่วนใหญ่ลงความเห็นว่า น่าจะมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญประเด็นสำคัญให้นายกฯ
จะต้องมาจาก ส.ส. นั้น ในบริษัทโอสถสภา (เต๊กเฮงหยู) ก็เกิดเหตุการณ์ปรับโครงสร้างการบริหารกันใหม่บ้างเหมือนกัน
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2535)
แพนคอสเมติคทอฝัน HEALTH INDUSTRY เมืองไทย
ในระยะ 3-4 ปีที่ผ่านมานี้ แพนคอสเมติคเติบโตอย่างรวดเร็ว ในลักษณะการโตแบบเงียบ
ๆ ไม่หวือหวา หรือลงทุนอย่างใหญ่โต แต่ทำจากเล็กไปหาใหญ่ จนกระทั่งกลายเป็นผู้นำตลาดเวชสำอางรักษาสิวรายใหญ่ที่สุดของเมืองไทย
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2534)
"ศูนย์แพนคลีนิค" โตด้วยยุทธวิธีซื้อด้วยขายเชือก
STRATEGIC PLAN ของแพนคอสเตมิตเกี่ยวกับการขยายศูนย์บริการ "แพนคลีนิค"
หรือ "แพนบิวตี้แคร์" ตั้งแต่ปี 2527 จนกระทั่งถึงขณะนี้ครอบคลุมทั่วประเทศ
56 แห่ง เป็นยุทธวิธีการตลาดที่ทำให้แพนคอสเมติคเติบโตในตลาดเวชสำอางเพราะว่า
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2534)
ปี 35 จุดหัวเลี้ยวหัวต่อ แจ๊กเจียกรุ๊ป
ก้าวแรกที่ย่างเท้าเข้าสู่ สำนักงานบริษัท แจ๊กเจีย บนถนนสี่พระยา บรรยากาศของความเก่าแก่ผสมปนเปกับกลิ่นหอม
ของตัวยาหม่องตราเสือ แป้งหอม " ตาบู" สบู่หอม "จูน"
และเครื่องสำอางยุคเก่าอบอวลไปทั่วบริเวณ
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2533)
ไทยคูน " แจ๊กเจีย" คนขี่หลังเสือ
เจตน์ เจียระพฤฒิ หรือที่รู้จักกันว่า "แจ๊กเจีย" เป็นนักธุรกิจใหญ่
ชาวแต้จิ๋ว ที่ถือสัญชาติไทย แต่พำนักอาศัย อยู่ ณ ประเทศสิงคโปร์ เป็นหลัก
ปัจจุบันแม้จะมีวัยล่วงเลย ถึง 69 ปี แต่แจ๊กเจีย ก็ยังคงบริหาร กิจการในฐานะประธานแจ๊กเจียกรุ๊ป
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2533)
FDA ล้างซะทีดีไหม?
ประเทศไทยมีตำรับยามากที่สุดในโลกถึง 28,000 ตำรับ ขณะที่ทางการแพทย์นั้นตำรับยาที่ก่อประโยชน์แก่คนนั้นมีไม่เกิน
1,000 ตำรับก็เพียงพอแล้ว ความมากมายเหล่านี้บวกกับระบบและกลไกการบริหารแบบราชการจึงเป็นแรงฉุดให้หน่วยงานสำนักงานอาหารและยาหรือ
อ.ย. เต็มไปด้วยความล้าหลังในประสิทธิภาพการบริหารในเป้าหมายการพิทักษ์ผลประโยชน์
ผู้บริโภคและการควบคุมจรรยาบรรณของผู้ผลิต
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2533)
รายชื่ออาหารและยามัจจุราชจำแลง
"หลายคนไม่เชื่อว่าประเทศไทยมีตำรับยามากถึง 28,000 ตำรับ เพราะมันจะเป็นไปได้อย่างไรที่จะมีการค้นพบตัวยาได้มากมายนถึงขนาดนั้น ซึ่งก็น่าจะดีถ้ามันเป็นอย่างนั้น และก็เป็นเรื่องที่ไม่น่าเชื่ออีกเช่นเดียวกันที่ปรากฎว่าประเทศที่มีตำรับยามากมายกว่าทุกประเทศเช่นนี้ กลับเป็นประเทศที่สุขภาพอนามัยของประชาชนกลับย่ำแย่ลงทุกวัน
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2533)