เวนเจอร์แคปปิตอลไทย เกิดง่าย แต่โตคงยาก
พูดถึงธุรกิจเวนเจอร์แคปปิตอล หลายคนคงมีปุจฉาขึ้นในใจว่า "เอะ มันคืออะไรกัน"
? ไม่แปลกที่เป็นเช่นนี้เพราะอันที่จริงแล้ว ธุรกิจนี้มันใหม่เอามากๆ ในสหรัฐอเมริกาเองที่เป็นต้นตำรับธุรกิจนี้ก็เพิ่งมีธุรกิจนี้มาเพียง
40 กว่าปีเท่านั้นเอง (หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เล็กน้อย)
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2531)
จะบอกว่าส่วนไหนเป็นป่าก็จะเว้นเอาไว้มันไม่จริง
การลงทุนขนาดใหญ่ผู้ลงทุนมักจะเริ่มต้นจากการมองความต้องการของตลาด ระยะเวลาคุ้มทุนของการลงทุน
เมื่อคิดว่ามันกำไรก็ลงทุนพอตัดสินใจอย่างนั้น แล้วประเด็นตามมาก็คือว่าทำอย่างไรภายใต้เงื่อนไขเวลาและทุนขนาดนี้จึงจะได้กำไรสูงสุด
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2531)
TECHNOLOGY TRANSFER, IT'S A TRAP!
ภาพรวมการลงทุนจากต่างประเทศในอุตสาหกรรมต่างๆ ที่มีอยู่ในขณะนี้ บอกได้ว่าเป็นผลเสียมากกว่าผลดี
อย่างน้อยก็เรื่องเทคโนโลยีเรื่องหนึ่ง ซึ่งสำคัญต่ออนาคตของอุตสาหกรรมไทยมาก
เพราะตั้งแต่มีการส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศ ยังไม่เห็นมีการถ่ายทอดเทคโนโลยีกันอย่างแท้จริงเลย
มันเป็นเพียง "กับดัก" ไว้หลอกล่อมาตรการส่งเสริมจากรัฐและเอกชนคู่ร่วมลงทุนมากกว่า
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2531)
BOI แดนสนธยา...แดนผลประโยชน์
"ในตำแหน่งนี้ ผมตั้งเป้าไว้ 100 ล้านบาท" ข้าราชการระดับซี 8 พูดเปรยๆ ตอนเมื่อก่อนขึ้นมาในตำแหน่งผู้อำนวยการกอง ซึ่งว่ากันว่าขณะนี้น่าจะทะลุเป้าแล้ว แต่ยังไม่พอ พยายามหาประโยชน์เพิ่มเติม โดยเริ่มเบนมาหาผู้ใหญ่ระดับรองลงมา เผื่อคนปัจจุบันเกษียณจะได้ยึดเป็นหลักต่อไปได้
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2531)
IN DEFENSE OF CHIRAISM
"ผู้จัดการ" ได้มีโอกาสสนทนากับท่านเลขาฯ ชีระ ตอนเช้าของวันที่ 13 พฤษภาคม แล้วรอบหนึ่ง เป็นสนทนาที่เผ็ดร้อนจนท่านเลขาฯ ขอที่จะสนทนากับ "ผู้จัดการ" อีกรอบในตอนบ่าย เพราะข้อเท็จจริงต่างๆ ของ NPC-2 ยังคลุมเครืออยู่ จึงต้องใช้เวลาเกือบ 3 ชั่วโมง เพื่อตอบคำถามแต่ละคำถามอย่างชัดเจน รายละเอียดคำต่อคำที่ "ผู้จัดการ" ถอดมาให้เห็นนี้ ผู้อ่านคงพอที่จะตัดสินใจได้ว่าการ Defense ครั้งใหญ่ของเลขาฯ ชีระ สมเหตุสมผลหรือไม่?
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2531)
วิวาทะว่าด้วย "ฐานะและความชอบธรรมแห่งการดำรงอยู่ของ BOI"
"ผู้จัดการ" หยิบยกบทสัมภาษณ์ของสถาพร กวิตานนท์ รองเลขาฯ ในฐานะตัวแทน "ความเชื่อ" ของ BOI ขึ้นมาหาประเด็นและแง่มุมที่แตกต่างออกไป โดยขอ "แลก" ทัศนะกับ ดร.อัมมาร สยามวาลา ผู้อำนวยการฝ่ายการวิจัยการเกษตรและพัฒนาชนบท สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ในฐานะทัศนะ "อิสระ" จากนั้นก็ประกบคำสัมภาษณ์แบบคำต่อคำให้เห็น
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2531)
BOI ทุบทิ้งเสียดีไหม!?
ถ้ากลับเวลาย้อนสู่อดีตไปตั้งต้นใหม่ได้ มีหลายคนอาจกล่าวถึง BOI ว่า "อยากให้ชีวิตนี้ไม่มีเธอ" ออกจะเป็นการยากที่จะให้สิ่งนี้เป็นจริงเป็นจังขึ้นมา แต่ปริศนาที่ตั้งไว้ว่า "ทุบทิ้งเสียดีไหม" ถูกเฉลยไว้ด้วยผลสะเทือนในทางลบที่ BOI ได้สร้างไว้ จึงทำให้คำตอบปรากฏเป็นจริงออกมาแล้ว "ชีวิตนับแต่นี้ไม่มีเธอจะดีกว่า"!!
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2531)
ใครเป็นใครใน BOI? ดอกไม้และพวงหรีดรอมอบให้คุณ!
BOI ก็เหมือนหน่วยงานรัฐบาลอื่นๆ นั่นล่ะ ที่ถือว่าเป็นที่รวมของบรรดาผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งกล่าวในแง่ทรัพยากรบุคคลของชาติแล้วไซร้ คนพวกนี้เขาเหมือนดั่ง "ทองคำ" ทองคำซึ่งมีค่ามหาศาลและเป็นความหวังอันบรรเจิดเพริดพริ้งของทุกๆ คน
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2531)
BOI ยุคชีระครองอำนาจ
"ตอนนั้นชีระก็เกือบไม่ได้ และสถาพรก็เกือบจะได้จริงๆ ทั้งๆ ที่ชีระควรจะนอนมาเพราะเป็นลูกหม้อเก่า แต่สถาพรซึ่งมาจากสภาพัฒน์ฯ มีบทบาทโดดเด่นมาก โผที่ถึงมือนายกฯ ก็เป็นชื่อสถาพร แต่พอประกาศออกมากลับกลายเป็นชีระได้ ก็ไม่รู้ว่าโผไปพลิกตอนไหน" อดีตที่ปรึกษา BOI เล่าถึงการก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งเลขาธิการของชีระเมื่อกรกฎาคม 2529
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2531)