เมื่อสมเกียรติสะดุดขาตัวเอง
ความสำเร็จของคนเราโดยส่วนใหญ่มักจะไม่ได้มาอย่างง่ายดายเสมอไปเช่นกรณีของสมเกียรติ
อ่อนวิมลแห่งค่ายแปซิฟิค นักบุกเบิกวงการสื่อสารมวลชนของไทย เขาผ่านร้อนผ่านหนาว
และผ่านความเจ็บปวดกับธุรกิจมามากมายกับการทำธุรกิจข่าวสารทางทีวีประมาณ
8 ปีเต็ม
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2534)
พิษณุ นิลกลัด "บทเรียนการร่วมทุนที่ผิดพลาด"
ความแตกแยกใน "อินกรุ๊ป" จนต้องแยกทางกัน เดินต่างคนต่างทำมาหากินในเส้นทางธุรกิจเดียวกัน
กลายเป็นคู่แข่งขัน ซึ่งกันและกันระหว่างพิษณุ นิลกลัด กับธัชเวชช์ เวชชวิศิษฎ์
แม้จะดูเป็นเรื่องธรรมดา ๆ ในวงการธุรกิจ แต่ก็เป็นเรื่องน่าศึกษา เพราะมันเป็นเพียงบทเรียนแรกๆ
ในการทำธุรกิจที่คนหนุ่มคนสาวร่วมสมัยในยุคนี้มักจะมองข้ามไปเสมอ ๆ
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2534)
ชาลทอง ปัทมพงศ์ จากนักค้าพืชไร่ มาขายข่าวสารข้อมูล
ชื่อของชาลทอง ปัทมพงศ์ กระฉ่อนอยู่ในวงการนักค้าพืชไร่ (GRAIN TRADER)
ทั้งในประเทศและโดยเฉพาะในต่างประเทศ ซึ่งเขาเคยทำงานเป็นผู้ค้าในตลาดซื้อขายล่วงหน้าให้กับบริษัท
คอนติเนนตัลเกรน จำกัด ในสหรัฐฯ มาเป็นเวลา 4 ปีเต็ม
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2533)
สู่ยุคระบบข่าวกรองเพื่อการแข่งขัน
จากหนังสือ COMPETITIVE STRATEGY เขียนโดยศาสตราจารย์ MICHAEL PORTER แห่ง
HARVARD BUSINESS SCHOOL ได้กล่าวย้ำถึงความสำคัญของการวิเคราะห์คู่แข่งจนกลายเป็นแก่นของแนวความคิดในการพัฒนายุทธวิธี
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2532)
ชูศักดิ์ ทาระคำ ในลาวฤาสมรภูมิธุรกิจโฆษณาจะเปลี่ยนทิศ
เปิดศักราชใหม่ทั้งที่ไม่พูดถึงอินโดจีนที่กำลังจะเปลี่ยนสนามรบเป็นสนามการค้าก็กระไรอยู่
ยามนี้ทุกลมหายใจเข้าออกดูเหมือนหลาย ๆ คนหมายพุ่งเจาะขั้วหัวใจผู้บริโภคในกลุ่มประเทศอินโดจีนให้ติดหนึบ
โดยเฉพาะ "ลาว" บ้านพี่เมืองน้องที่พูดจาภาษารักกันอย่างดูดดื่มในเวลานี้
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2532)
ไพศาล พืชมงคลกับอ.ส.ม.ท.ลับลมคมใน...มี..ไม่มีดอก..
เป็นที่งุนงงเอามาก ๆ กับการแต่งตั้งบอร์ด อ.ส.ม.ท.ชุดใหม่ล่าสุดภายใต้การกำกับบทของ
รมต.เฉลิม อยู่บำรุง ที่จู่ ๆ ก็ปรากฏชื่อของ "ไพศาล พืชมงคล"
คนโนเนมของวงการวิทยุ-โทรทัศน์ หลุดเข้าไปเป็นกรรมการกับเขาด้วยคนหนึ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2531)
"ผมไม่อยากให้บรรยากาศรับจ้างเขียนข่าวเหมือนในอดีตกลับมาอีก"
ถ้าพูดถึงพัฒนาการของธุรกิจข่าวนั้น แต่แรกข่าวจะออกมาในลักษณะข่าวราชการ
ทางราชการมีอะไรก็แจ้งให้ชาวบ้านทราบ เช่น ราชกิจจานุเบกษา ต่อมารัฐยอมให้เจ้าหน้าที่ของรัฐเองหรือคนอื่น
ๆ ทำข่าวในลักษณะที่แตกต่างไปจากข่าวราชการโดยปกติ
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2530)
แมกไซไซเลือกกรุงเทพฯ จัดประชุมปีท่องเทียวไทยได้หน้าไปด้วย
รางวัลแมกไซไซนั้นเป็นรางวัลที่ตั้งขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์แด่ประธานาธิบดีรามอนแมกไซไซของฟิลิปปินส์
นับตั้งแต่ปี 2501 ปีแรกที่มีการแจกรางวัลนี้จวบจนปัจจุบันมีคนเอเชียได้รับเกียรติไปแล้วรวมทั้งสิ้น
139 คนกับอีก 11 องค์การ และได้รับการขนานนามให้รางวัลโนเบิลแห่งเอเชีย
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2530)