Asia Pacific Desk สำนักงานระดับภูมิภาคของ AP ในไทย
การเปิดสำนักงานใหม่ในประเทศไทยของสำนักข่าวต่าง ประเทศ ที่มีอยู่มากมายหลายแห่ง
อาจเป็นเพียงปรากฏการณ์ปกติ ที่ไม่ใคร่มีผู้สนใจมากนัก แต่สำหรับ AP (Associated
Press) การย้ายหน่วยที่เรียกว่า Asia Pacific Desk จากกรุงโตเกียวมา ยังกรุงเทพฯ
ย่อมเป็นกรณีที่ไม่ควรจะมองข้ามอย่างยิ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2545)
บรรณาธิการผู้ทรงอิทธิพล
คงรู้จักหนังสือพิมพ์ฉบับนี้กันนะคะ เดอะนิวยอร์กไทมส์ (The New York Times) แม้บางคนอาจจะไม่เคยอ่าน แต่อย่างน้อยก็คงเคยได้ยินชื่ออยู่บ้าง
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2545)
อวสาน Leo Kirch ราชาธุรกิจสื่อเมืองเบียร์
ต้นปีที่แล้ว Erwin Huber หัวหน้าเจ้าหน้าที่สำนักนายกรัฐมนตรี (chief of
staff) แห่งแคว้น Bavaria ได้โทรศัพท์ถึงผู้บริหารคนหนึ่งของ HypoVereinsbank
(HVB) ธนาคารมหาชนใหญ่สุดอันดับสองของเยอรมนี ซึ่งมีฐานอยู่ใน Munich หัวข้อสนทนาคือการแข่งรถ
Formula One แต่ Huber ไม่ได้โทรไปเพื่อชวนคุยวิพากษ์วิจารณ์ผลแพ้ชนะในการแข่งสัปดาห์ก่อน
หากแต่เพื่อขอให้ HVB สนับสนุนทางการเงินแก่ Leo Kirch ที่กำลังจะซื้อลิขสิทธิ์การถ่ายทอดสด
Formula One
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2545)
Modern Society
ผมยอมรับว่าการมองภาพรวมของ "ผู้จัดการ 100 "
คราวนี้ แทบไม่มีสัญญาณพิเศษเอาเสียเลย มัน
อาจจะสอดคล้องกับ "ความจริงประเทศไทย" ของ
ทักษิณ ชินวัตร ก็เป็นได้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2544)
ภารกิจซ่อนเร้นของ CNN ในไทย
สำหรับนักธุรกิจผู้สนใจความเคลื่อนไหวด้านการเงินการธนาคาร ชื่อของ Asia
Business Morning รายการข่าวรับอรุณของ CNN ที่มี Andrew Steven เป็นผู้ดำเนินรายการคงเป็นที่คุ้นหูคุ้นตาพอสมควร
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2544)
รูเพิร์ต เมอร์ด็อก หนึ่งในผู้กุมสื่อโลก
ผู้ที่สนใจด้านสื่อ คงไม่มีใคร ไม่เคย ได้ยินชื่อนี้... รูเพิร์ต เมอร์ด็อก (Rupert Murdoch) มีอายุครบ 70 ปี เมื่อวันที่ 11 มีนาคมที่ผ่านมานี่เอง
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2544)
News Model (3) National Newspaper
แนวคิดสำคัญของผม ที่ว่าด้วยเรื่อง National Newspaper เมื่อ 8 ปีที่แล้ว ที่เสนอให้ผู้อ่านหนังสือพิมพ์ส่วนใหญ่ของประเทศ
มีสิทธิ์ในการอ่านอย่างเท่าเทียมกัน โดยเฉพาะในเรื่องเวลา เพื่อให้เป็นสินค้า ที่มีมาตรฐานเดียวกัน
ทั่วประเทศนั้น ยังมีความสำคัญอย่างมากในยุคอินเทอร์เน็ต ที่กำลังขยายอิทธิพลอย่างกว้างขวางในปัจจุบัน
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2544)
News Model (2)
"พลังของข่าวสารจะเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล เมื่อสามารถกระจายไปในจุดต่างๆ ในขอบเขตทั่วประเทศในเวลาเดียวกัน พลังของข่าวอันเกิดจากการสร้างโอกาสเท่าเทียมในการรับรู้ของผู้คนในสังคม มีคุณค่ามากกว่าความพยายามในการเพิ่มยอดพิมพ์ ยอดผู้อ่าน ในแนวคิดแบบเก่าๆ อีกมิติหนึ่ง จะเป็นแรงกระตุ้นสำคัญในยุคหนังสือพิมพ์มีขีดจำกัดหมดไป ทำให้สื่อมวลชนประเภทนี้สามารถรักษาอิทธิพลต่อสังคมต่อไป คนอ่านจะเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง..."
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2543)
ปฏิรูปกรมประชาสัมพันธ์ ความท้าทายใหม่
ประสบการณ์ของปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ กำลังถูกท้าทายอีกครั้ง กับการปฏิรูป "กรมประชาสัมพันธ์" สื่อของรัฐที่กำลังถูกแรงกดดันจากกติกาใหม่ของรัฐธรรมนูญและพัฒนาการของเทคโนโลยี
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2543)
News Model(1)
"วันนี้อินเทอร์เน็ตไม่มีข้อจำกัดในเรื่องเทคโนโลยีอีกแล้ว
แต่เทคโนโลยีจะสามารถตอบสนองสาระของอินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิทธิภาพ ล้วนมาจากความเข้าใจและพัฒนาความรู้เดิมจากการบริหารข้อมูลข่าวสารในสื่อสิ่งพิมพ์..."
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2543)