มิติใหม่กรมศุลกากร
ประวัติของการก่อตั้งกรมศุลกากรที่ยาวนานมากว่า 135 ปี กำลังเดินทางเข้าสู่ยุคใหม่ เมื่อแผนการการปฏิรูปการทำงานของกรมศุลกากรครั้งใหญ่ที่สุดถูกนำเสนอออกมา
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กันยายน 2552)
กรมศุลฯ-ปตท. ความสับสนที่ส่อพิรุธเด่นชัด
นับเป็นเหตุการณ์ที่สร้างความสับสนให้กับคนทั้งประเทศ เมื่อกรมศุลกากรบุกตรวจค้นเรืออาเซียน
โปรโมเตอร์ และอายัดน้ำมันเบนซิน 95 จำนวน 41 ล้านลิตร เมื่อปลายเดือนมกราคม
ก่อนที่จะแจ้งความจับผู้บริหารระดับสูงของ บริษัท ปตท. ข้อหาสำแดงเท็จในการนำเข้าน้ำมันล็อตนี้
จนกลายเป็นความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานรัฐทั้ง 2 องค์กร
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2545)
ปราบของเถื่อน ต้องยึดทรัพย์สินให้หมด
การลักลอบขนของภาษีเป็นอาชญากรรมทางธุรกิจในลักษณะเป็นการฉ้อโกงภาษีอากร
หรือหลีกเลี่ยงภาษีอากร (Tax Frauds) อย่างหนึ่ง ซึ่งถึงแม้ว่าจะไม่มีผลกระทบโดยตรงกับประชาชนอย่างชัดเจน
แต่ก็ก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมระหว่างผู้เสียภาษีอากรด้วยกัน
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2534)
พ่อค้าไทย "เหยื่อ" โลกไร้พรมแดน
พวกเจ้าพ่อ พ่อค้าขี้ฉ้อ ค้าขายของเถื่อนมานานแล้วโดยมีตลาดใหญ่ที่หาดใหญ่และเยาวราช
เหตุเพราะระบบกฎหมายมีข้อบกพร่องและกำแพงภาษี กรมศุลกากรปราบปรามเหมือนขี่ช้างจับตั๊กแตน
8 เดือนที่ผ่านมาจับกุมได้ 586 ล้านบาทต่ำกว่าตัวเลขจริงมากมาย
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2534)
ชิปปิ้งไทย : อาชีพที่เฟื่องที่สุดในโลก
ธุรกิจชิปปิ้งมีมานานแล้ว ทำหน้าที่แทนผู้ส่งออกและนำเข้าโดยเกี่ยวข้องกับสองหน่วยงาน
คือกรมศุลกากร ในการเสียภาษีและดำเนินการตามพิธีศุลกากร ส่วนที่สองเกี่ยวข้องกับการท่าเรือฯ
โดยตรงคือกระบวนการที่ไปปล่อยของออกจากท่าเรือฯ
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2531)
วิโรจน์ VS ไกรศรี-ชยุติ
กรณีไกรศรี จาติกวนิช อดีตอธิบดีกรมศุลกากร ชยุติ จิระเลิศพงษ์ อดีตรองอธิบดีกรมศุลกากร
และเจ้าหน้าที่กรมศุลฯ อีก 12 คน ถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดทางวินัยอย่งร้ายแรงในการหลีกเลี่ยงภาษีอากรนำเข้ารถยนต์ยี่ห้อโตโยต้า
ซอเรอร์ จนในที่สุดไกรศรีและชยุติถูกตัดสินให้ออกจากราชการ ส่วนเจ้าหน้าที่อีก
12 คน การสอบสวนยังไม่ยุติ เรื่องนี้เป็นเรื่องที่อื้อฉาวและตกเป็นข่าวโด่งดังมากในรอบปีที่ผ่านมา
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2531)
รถเจ้าปัญหา
รถโตโยต้า ซอเรอร์ คันนี้เป็นรถรุ่นเดียวรถที่เกิดปัญหา (ซึ่งราคาบ้านเราคันละประมาณ
4,500,000 รวมภาษี) ซึ่งนำเข้าโดยนายมนัสชัย อริยอาภากุล ซึ่งนำมาให้นายประพัฒน์
อภิปุญญา เพื่อค้ำประกันหนี้ ประมาณปลายเดือนกุมภาพันธ์ 2529
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2531)
ชัยยุทธ ปิลันธ์โอวาท เขาว่าชาตรีเลือกไม่ผิดคน
แล้วก็ถึงวาระที่ ดร. ชัยยุทธ ปิลันธ์โอวาท จะต้องเปลี่ยนนามบัตรใหม่อีกครั้งนามบัตรเก่าที่ ดร. ชัยยุทธเคยใช้อยู่หลายปีนั้น ระบุตำแหน่ง ดร. ชัยยุทธเป็นกรรมการรองผู้อำนวยการบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ร่วมเสริมกิจ
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2530)