Aerotropolis
พื้นที่ไหนน่าลงทุน? ที่ตรงนี้จะทำอะไรได้บ้าง? มีบ้านอยู่บนถนนเส้นนี้จะถูกเวนคืนหรือเปล่า? กลายเป็นคำถามยอดฮิตในทันที เมื่อโครงการก่อสร้างสนามบินสุวรรณภูมิเป็นรูปเป็นร่างที่ชัดเจน
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2548)
ถึงคราตลาดบ้านบูม
จำได้ว่าตั้งแต่ช่วงต้นปีที่ผ่านมา ราวๆ ย่างเข้าซัมเมอร์ พอหิมะเริ่มละลาย ก็เริ่มเห็นป้าย "Home for Sale" ผุดขึ้นราวกับดอกเห็ด และอีก 2-3 สัปดาห์ ก็มีคนย้ายเข้ามาอยู่ใหม่แล้ว ตัวอย่างง่ายๆ คือ "Subdivision" หรือที่บ้านเราเรียกว่า "โครงการบ้านจัดสรร" ที่ผู้เขียนอาศัยอยู่มีอายุโครงการประมาณแค่ 5-6 ปีเอง
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2548)
The Met
จากถนนสาทร มองผ่านกอตะไคร้และกอไผ่ที่ลู่เอนเล่นลม จะเห็นอาคารชั้นเดียวสีขาว เทา ตั้งอยู่ท่ามกลางสนามหญ้าเขียวขจี คือสำนักงานขายของ "The Met" คอนโดมิเนียมสูง 66 ชั้น บนถนนสาทรใต้
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2548)
กองทุนอสังหาฯ 1.2 หมื่นล้าน จาก CPN
การตั้งกองทุนอสังหาริมทรัพย์มูลค่า 1.2 หมื่นล้านบาท ของ CPN เพื่อระดมเงินไปลงทุนในโครงการใหม่ ดูจะเป็นการตัดสินใจที่เหมาะสมที่สุดสำหรับบริษัทอสังหาริมทรัพย์รายใหญ่แห่งนี้
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2548)
อีกทางเลือกใน Water Mark
คอนโดมิเนียมริมแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นที่อยู่ในฝันของคนหลายคน แต่หลังเกิดวิกฤติการเงินเมื่อปี 2540 โครงการต่างๆ ก็ดูเหมือนจะเงียบหายไป ที่ปรากฏอยู่ส่วนใหญ่เป็นโครงการเก่า สร้างเสร็จมานานกว่า 10 ปี โครงการสุดท้ายที่สร้างเสร็จก่อนเกิดวิกฤติ คือบ้านเจ้าพระยา ของกลุ่มสมประสงค์
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2548)
Backdoor listing กลับมาแล้ว
หากไม่ใช่เพราะวิกฤติเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในช่วงปี 2540 บริษัท เค.ซี.พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด (มหาชน) ก็คงยังไม่คิดที่จะเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เพราะในช่วงก่อนหน้านั้นการหาแหล่งเงินมาทำโครงการอสังหาริมทรัพย์ไม่ใช่เรื่องยาก ทั้งธนาคารและบริษัทเงินทุนต่างก็พร้อมที่จะปล่อยสินเชื่อให้
(นิตยสารผู้จัดการ 5 กรกฎาคม 2548)
Developer for real demand
บุคลิกของทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์ ประธานกรรมการบริหารและกรรมการผู้จัดการ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จำกัด (มหาชน) เป็นคนพูดน้อย แต่สิ่งหนึ่งที่เขามักกล่าวถึงด้วยความภาคภูมิใจอยู่เสมอก็คือจุดเด่นของพฤกษาฯ ในการควบคุมต้นทุนที่ทำให้ทาวน์เฮาส์และบ้านเดี่ยวของพฤกษาฯ มีราคาต่ำกว่าผู้ประกอบการรายอื่น 10-20% ซึ่งเป็นจุดแข็งของบริษัทมาตั้งแต่ต้น
(นิตยสารผู้จัดการ 5 กรกฎาคม 2548)
ยุ่นเจี๊ยะ
คงจะเป็นเรื่องยากที่จะหลบเลี่ยงความช่วยเหลือ (ที่ไม่ได้ร้องขอ) ของ Fudousanya-san หากคิดจะซื้อหรือเช่าบ้านในญี่ปุ่น Fudousanya-san ทำหน้าที่เป็นคนกลางในการติดต่อทำสัญญาเช่า-ซื้อขายระหว่างเจ้าของอสังหาริมทรัพย์กับผู้ที่ต้องการเช่า-ซื้อ หรืออาจจะเรียกง่ายๆ ว่า "นายหน้า"
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2548)
สีสันใหม่บนหาดจอมเทียน
การกลับมาของอีริค ไล นักพัฒนาที่ดินจากเกาะฮ่องกง ที่เคยมีผลงานในเมืองไทยเช่น เอ็มไพร์ทาวเวอร์, เอส.วี.ซิตี้ และสมบัติ จันทร์เจริญสิน ผู้บริหารคนหนึ่งของบริษัท คันทรี่ (ประเทศไทย) จำกัด และรองประธานกรรมการบริหารสหวิริยาซิตี้ ด้วยการตั้งบริษัทใหม่ "ไวส์พาวเวอร์กรุ๊ป" เพื่อสร้างโครงการ "ลา รอแยล บีช" บนหาดจอมเทียนได้ส่งนัยน่าสนใจไปยังการพัฒนาที่ดินริมหาดแห่งนี้ที่เงียบเหงาไปพักใหญ่อย่างน่าสนใจ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2548)
The Infinity
Palmer and Turner คือผู้รับผิดชอบออกแบบ "The Infinity" ให้มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวและมีส่วนเชื่อมโยงไปยังสถานที่ที่เป็นประวัติศาตร์ในที่ดินแปลงเดียวกัน
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2548)