ธรรมรัตน์ เล็กประยูร คนขายตึก
ผู้ชายคนนี้เพิ่งอายุ 26 ปี เขาเรียนหนังสือที่เมืองไทยเพียงแค่ชั้นประถม
6 ที่อัสสัมชัญ แล้วไปเรียนที่อังกฤษ จนจบปริญญาตรีทางการตลาดในสาขาวิชาที่เรียกว่า
STRATEGIC PLANNING จาก THE AMERICAN COLLEGE IN LONDON
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2534)
ม.ล. ตรีทศยุทธ เทวกุล " เขาปั้นภูเก็ตยอซ์ทคลับขึ้นมาขาย
ม.ล. ตรีทศยุทธ เทวกุล หรือหม่อมตรี สถาปนิกหนุ่มผู้ร่ำรวยอารมณ์ศิลป์
รักธรรมชาติ และทรัพย์สินเงินทองตัดสินใจขาย "ภูเก็ตยอช์ทคลับ "
ที่เขาเพียรสร้างมากว่า 6 ปีให้แก่นักธุรกิจข้ามชาติอย่างบริษัทเฟิร์สแปซิฟิคแลนด์แอนด์พาร์ทเนอร์ของกลุ่มเฟิร์สแปซิฟิคออย่างชนิดที่ใครก็คาดไม่ถึง
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2534)
คีรี กาญจนพาสน์ มังกรสะท้านบู้ลิ้ม
คีรี กาญจนพาสน์แม้จะเติบโตบนกองเงินกองทองที่พ่อของเขา "มงคล กาญจนพาสน์" ได้สั่งสมสินทรัพย์ที่ดินและกิจการมูลค่ามหาศาลในเมืองไทยและฮ่องกงไว้แล้วก็ตาม แต่เขาก็ต้องการทำอะไรบางอย่างที่ยิ่งใหญ่กว่า และน่าตื่นเต้นกว่า
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2534)
มูลนิธิเทียนฟ้าเป็นใคร มีทรัพย์สินอะไร?
มูลนิธิโรงพยาบาลเทียนฟ้า ซึ่งถือกำเนิดมากว่า 80 ปีกำลังจะกลายเป็นเจ้าของโครงการยักษ์ในบริเวณที่ดินมักกะสัน
ซึ่งเป็นที่ดินแปลงใหญ่ที่มูลนิธิได้ซื้อทิ้งไว้เมื่อ 30 ปีที่แล้วด้วยการเปิดให้นักลงทุนเช่าที่ดินของมูลนิธิในบริเวณชุมชนจารุรัตน์ประตูน้ำบนเนื้อที่ 10 ไร่จากเนื้อที่ทั้งหมด 14 ไร่เศษ
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2534)
" เอ็นอีพี" กำลังไต่บนเส้นลวด
การประกาศนโยบายอย่างเด่นชัดที่จะเข้าลงทุนในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ควบคู่ไปกับกิจการอุตสาหกรรมของบริษัท กระสอบอิสาน กลายเป็นที่สนใจของบรรดาเหล่าลงทุนทั้งหลาย ราคาหุ้นที่พุ่งสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ถึง 9 เท่า ในช่วงระยะเวลาอันสั้น ทำให้เกิดกระแสข่าวเรื่องการปั่นหุ้น จากผู้ถือหุ้นรายใหญ่ขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2534)
นรฤทธิ์เจาะตลาดแอลเอ
การตกต่ำของตลาดอสังหาริมทรัพย์ ในเมืองไทย หลังจากการขึ้นเพดานดอกเบี้ยเงินกู้
เป็น 19% และความเข้มงวดในการอำนวยสินเชื่อขอ ตลาดการเงินต่อธุรกิจพัฒนาที่ดิน มีผลให้บริษัทหลายแห่งต้องปรับเปลี่ยนไปจากเมื่อก่อนนนกันเป็นพัลวัน
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2534)
ปี 2534 ฝ่าแนวอุปสรรค กระแสสภาพคล่อง
26 พฤศจิกายน วีรพงษ์ รามางกูร รัฐมนตรีคลังคนก่อน เห็นขอบข้อเสนอของวิจิตร
สุพินิจ ผู้ว่าการแบงก์ชาติ ให้ขยับเพดานดอกเบี้ยเงินกเป็น 19% จาก 16.5
%
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2534)
เส้นทางโอลิมเปียแอนด์ยอร์กในมือตระกูลรีชแมนด์
ปลายเดือนพฤษภาคมปีนี้ อัลเบิร์ต รีชแมนน์ ประธานกรรมการกลุ่มบริษัทโอลิมเปีย
แอนด์ยอร์ก ได้รับเกียรติครั้งยิ่งใหญ่ในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ระดับโลก เมื่อประธานาธิบดีมิคาฮิลกอร์บาชอฟแห่งสหภาพโซเยนตอนุมัติแผนการก่อสร้างอาหาคารสำนักงาน,บ้านเรือนและโรงแรมในกรุงมอสโก
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2533)
อังคณา วานิช ลูกสาวคนเก่งของ "เอกพจน์ วานิช"
สรรพนามที่อังคณาชอบใช้เรียกแทนตัวเองเสมอคือ "แอ๊ว" เธอเป็นลูกสาวของเศรษฐีใหญ่และวุฒิสมาชิก
"เอกพจน์ วานิช" โดยส่วนตัวความกระฉับกระเฉง และปราดเปรียวของอังคณาทำให้บทบาทของเธอนับว่าเป็นนักธุรกิจสตรีชั้นแนวหน้าคนหนึ่งในภูเก็ตที่กำลังสร้างผลงานที่มีชื่อเสียง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2533)
ทางออกของผู้ซื้อคอนโดฯ ที่สร้างไม่เสร็จ
เนื่องจากในระยะ 2-3 ปีผ่านมานี้เกิดการบูมในธุรกิจคอนโดมิเนียมหรือที่เรียกว่าอาคารชุดกันมาก
ทั้งประเภทที่เป็นอาคารชุดเพื่ออยู่อาศัยและอาคารสำนักงาน แต่เนื่องจากการทำธุรกิจคอนโดฯไม่ถือว่าเป็นธุรกิจจัดสรร
เหมือนพวกหมู่บ้านจัดสรร ทาวเฮาส์ ตึกแถว หรือนิคมอุตสาหกรรม จึงไม่อยู่ในการควบุคมของทางราชการ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2533)