"ญาณเดช ทองสิมา ถึงกลับมาแต่ก็ไม่พ้นต้องเล่นการเมือง"
ในวัย 48 ปี วันนี้ญาณเดช ทองสิมา ประธานกรรมการบริษัททองสิมา เคหะกิจ จำกัด อดีตนายกสมาคมธุรกิจบ้านจัดสรรคนแรกของเมืองไทยเมื่อปี 2523 และนักพัฒนาที่ดินเก่าแก่ในย่านบางขุนเทียนได้หวนคืนสู่สนามการค้าขายโครงการที่อยู่อาศัยอีกครั้งหนึ่ง หลังจากหายเงียบไปนาน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2539)
"ประตูน้ำ สมรภูมิไร้ผู้ชนะ?"
เมื่อเซียนพัฒนาที่ดินมาประชันกันที่ย่าน "ประตูน้ำ" จะเกิดอะไรขึ้น?
ดร. ไวท์ ชัยพยุงพันธุ์แห่งรัตนะการเคหะ ผู้รับมรดกจากคุณหญิงพัชรีเริ่มเปิดเกมก่อน
แต่ผู้เริ่มต้นอาจไม่ได้เปรียบเสมอไป วิกร ศรีวิกรม์มังกรหนุ่มแห่ง "แผ่นดินทอง"
พลิกกลยุทธ์ประกบแบบหายใจรดต้นคอ ขณะที่เจ้าถิ่นอย่างพันธุ์เลิศ ใบหยกบอกว่า
"โอกาสทองสำหรับที่นี่หมดไปแล้ว"
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2539)
ศรีกรุงวัฒนา กับการกลับมาแบบแหยงๆ ของ "สยามอรุณ"
บริษัทสยามอรุณ ดีเวลลอปเม้นท์ เป็นบริษัทพัฒนาที่ดินในเครือศรีกรุงวัฒนา
บริษัทยักษ์ใหญ่ทางด้านการผลิตและค้าปุ๋ยของประเทศ ตั้งขึ้นมาเมื่อปี 2532
ปีที่ธุรกิจที่ดินฟูเฟื่องที่สุดของเมืองไทย
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2539)
เชสเตอร์ตัน เริ่มต้นงานใหญ่ในห้องแคบ
เปิดศักราชใหม่ 2539 นับว่าเป็นปีหนูทองของบริษัทเชสเตอร์ตัน ประเทศไทย
บริษัทบริหารงานขายข้ามชาติที่สามารถคว้างานชิ้นใหญ่มาได้เป็นประเดิม เพราะบริษัทบริหารงานขายรายอื่นๆ
ก็ต้องการช่วงชิงโครงการนี้ทั้งสิ้น
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2539)
หม่อมหลวง ตรีทศยุทธ เทวกุล การกลับมาที่ไม่ธรรมดา
การกลับสู่สนามเรียลเอสเตทครั้งใหม่ของหม่อมหลวงตรีทศยุทธ เทวกุล เป็นเรื่องสั่น
สะเทือนวงการธุรกิจไม่น้อย เพราะนอกจากการขายโครงการที่อยู่อาศัยในแนวความคิดใหม๋แล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2539)
สุทธิพงษ์ จิราธิวัฒน์ คลื่นที่ไม่หยุดนิ่งในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
ในขณะที่บริษัทเซ็นทรัลพัฒนา ของตระกูลจิราธิวัฒน์ กำลังเฟ้นหามืออาชีพเข้ามาร่วมทีมทางด้านงานพัฒนาที่ดินมืออาชีพคนหนึ่งของตระกูลคือ "สุทธิพงษ์ จิราธิวัฒน์" ก็กำลังบุกไปข้างหน้าอย่างไม่หยุดยั้งในนามของบริษัทเวฟ
ดีเวลลอปเม้นท์ บริษัทซึ่งเซ็นทรัลพัฒนาไม่มีส่วนเอี่ยวด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2539)
โสภณ พรโชคชัย ปั้นอากาศเป็นตัวจนเป็นเรื่องเป็นราว
"สถานการณ์ที่อยู่อาศัยเฉพาะปี 2538 ในช่วง 11 เดือนที่ผ่านมา มีหน่วยขายเกิดขึ้นใหม่ 339,450 หน่วย คิดเป็นสินค้าที่อยู่อาศัยเสนอขายในตลาด 14.1% ของจำนวนครอบครัวของประชากรในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีอยู่จริงประมาณ 2.4 ล้านครัวเรือน ขายได้ในช่วง 11 เดือน 218,723 หน่วย เฉลี่ยต่อเดือนขายได้ 19,884 หน่วย และที่ขายดีคือที่อยู่อาศัยราคาแพง ขายได้เดือนละ 23.6% แต่ที่อยู่อาศัยราคาถูกต่ำกว่า 0.4 แสน กลับขายได้เพียง 11.0% ต่อเดือน"
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2539)
"ฝ่ามรสุม ปัญญา ควรตระกูล"
ไม่มีใครคาดคิดมาก่อนว่า "ปัญญา ควรตระกูล" จะตัดสินใจขายทิ้งสนามกอล์ฟปัญญารีสอร์ท
และปัญญาฮิลล์ที่เขารักมากที่สุด แต่การตัดสินใจครั้งนี้ก็นำไปสู่การเป็นพันธมิตรกับ
"ทวีพงศ์ จารุทวี" แห่งแนเชอรัลพาร์ค ผู้เทกโอเวอร์ทั้งสองสนามอย่างแนบแน่น
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2538)