การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่หลังวิกฤติเศรษฐกิจถดถอย
วิกฤติเศรษฐกิจมิใช่เกิดขึ้นเพียงชั่วข้ามคืน แต่เกิดจากการสะสมตัวของปัญหาที่มาจากการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ในเศรษฐกิจโลก การใช้นโยบายผิดพลาดของแต่ละประเทศ หรือการตัดสินใจผิดพลาดของนักลงทุนเป็นเวลานานหลายๆ ปี หรือแม้แต่หลายๆ ทศวรรษ
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กันยายน 2553)
สิงคโปร์ เศรษฐกิจเล็กพริกขี้หนู
ด้วยพื้นที่เพียง 267 ตารางไมล์ หรือเล็กกว่านครนิวยอร์ก (301 ตารางไมล์) สิงคโปร์จึงเป็นเพียงนครรัฐ (city state) เล็กจิ๋ว แต่เป็นเล็กพริกขี้หนู เพราะมีเศรษฐกิจที่เติบโตอย่างร้อนแรงที่สุดในโลก เพียงครึ่งปีแรกของปีนี้ประเทศเล็กๆ ในเอเชียแห่งนี้เติบโต ถึง 18.1% มากกว่าทั้งจีน อินเดีย และบราซิลอย่างไม่เห็นฝุ่น
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กันยายน 2553)
มอง “จีน” จากมุม “ญี่ปุ่น”
ปลายเดือนมิถุนายนถึงต้นเดือนกรกฎาคม 2553 ผมมีโอกาสเดินทางไปประเทศญี่ปุ่นตามโครงการ NSK-CAJ Fellowship Program ครั้งที่ 31 ของสมาคมผู้พิมพ์-ผู้โฆษณาและบรรณาธิการหนังสือพิมพ์แห่งญี่ปุ่น (Nihon Shinbun Kyokai; NSK) โดยได้รับการสนับสนุนจากสมาพันธ์นักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย (Confederation of Thai Journalists; CTJ)
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา สิงหาคม 2553)
แผนกระตุ้นเศรษฐกิจแบบ DIY
เมื่อรัฐบาล “หมดมุก” ในการฟื้นเศรษฐกิจ เอกชนและผู้บริโภคอเมริกันจึงต้องลงมือกระตุ้นเศรษฐกิจด้วยตัวเอง และ...เพื่อตัวเอง
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา สิงหาคม 2553)
สหภาพยุโรป: รวมกันเราอยู่
ใครที่คิดว่าการรวมยุโรปจะต้องล่มสลายในวันใดวันหนึ่ง มักจะผิดคาดเสมอ วิกฤติการเงินของกรีซทำให้หลายคนคิดว่า นี่คงถึงกาลอวสานของเงินยูโรแล้ว แม้กระทั่งอาจจะถึงขั้นการล่มสลายของสหภาพยุโรป (European Union: EU) เลยด้วยซ้ำ แต่ตลอดประวัติศาสตร์การรวมยุโรปที่ผ่านมานานหลายทศวรรษแล้ว คนที่มองยุโรปในแง่ร้ายสุดๆ มักจะผิดหวังเสมอ
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กรกฎาคม 2553)
เศรษฐกิจโลกยังไม่พ้นขีดอันตราย
วิกฤติหนี้สินของกรีซอาจทำให้เศรษฐกิจโลกตกต่ำครั้งใหญ่ในปีนี้ ทั่วโลกเชื่อกันว่า เราสามารถรอดพ้นจากเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ที่สุด ที่เรียกว่า Great Depression เป็นครั้งที่ 2 ไปได้แล้ว เป็นเพราะประเทศต่างๆ ได้เรียนรู้บทเรียนจากเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ หรือ Great Depression ครั้งแรก ในช่วงทศวรรษ 1930
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มิถุนายน 2553)
การกลับมาของสหรัฐฯ
สหรัฐฯ สามารถดึงตัวเองออกมาจากปากเหวและยังคงมุ่งหน้ากลับคืนสู่การเป็นผู้นำ หลังจากสหรัฐฯ เผชิญวิกฤติการเงินในปี 2008 ตามด้วยการถดถอยทางเศรษฐกิจที่ลึกและยาวนาน นักเศรษฐศาสตร์ชั้นนำ ที่รวมถึง Joseph Stiglitz นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล ต่างพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า ยุคแห่งความตกต่ำของอาณาจักรอันยิ่งใหญ่อย่างสหรัฐฯ ได้มาถึงแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มิถุนายน 2553)
อวสานยูโร?
วิกฤติหนี้สินของกรีซกำลังคุกคามเศรษฐกิจโลกที่เพิ่งเริ่มฟื้นตัว และยังคุกคามสกุลเงินใหญ่อันดับ 2 ของโลก เงินยูโร เมื่อ 10 ปีก่อน การรวมเงินสกุลเดียวของยุโรป ดูเหมือนเป็นความคิดที่ยอดเยี่ยม ในตอนนั้น ยุโรปประสบความสำเร็จอย่าง สูงในการรวมตัวกันเป็นกลุ่มการค้า โดยไม่ต้องรวมกันทางการเมือง
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มิถุนายน 2553)
การฟื้นตัวของสหรัฐฯ
4 นักเศรษฐศาสตร์ชั้นนำคาดการณ์ลักษณะการฟื้นตัวของสหรัฐฯ N o u r i e l R o u b i n i ศาสตราจารย์แห่ง New York University เศรษฐกิจสหรัฐฯ จะฟื้นตัวและเติบโตได้ตามศักยภาพหรือต่ำกว่าศักยภาพไปประมาณ 10 ปี แต่การฟื้นตัวจะเป็นรูปตัว U มากกว่าตัว V
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มิถุนายน 2553)
พฤษภาเลือดฉุด GDP
แม้เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่ 1/2553 มีอัตราการขยายตัวสูงสุดในรอบเกือบ 15 ปีที่ระดับร้อยละ 12.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน (Year-on-Year) และสามารถฟื้นตัวกลับมามีขนาดเศรษฐกิจเท่ากับช่วงก่อนหน้าการเกิดวิกฤติเศรษฐกิจถดถอยของโลกในปี 2551 ได้ในที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มิถุนายน 2553)