วิกฤติหนี้ยุโรปทำยุโรปโดนเขมือบ
Grimsstadir ถิ่นชนบทอันห่างไกลทางตะวันออกเฉียงเหนือของไอซ์แลนด์ มีความสุขสงบมากที่สุดแห่งหนึ่งเท่าที่จะหาได้บนโลกใบนี้ เรือกสวนไร่นาเขียวชอุ่ม สามารถมองเห็นแสงเหนือ และขับรถไปเที่ยวน้ำตกที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในยุโรปได้ ท้องฟ้าอันไพศาลยังสว่างใสบริสุทธิ์ดุจกระจก ทัศนียภาพแถบภูเขาที่งดงามบาดตา ที่พักนักท่องเที่ยวมีเพียงเกสต์เฮาส์เล็กๆ
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มกราคม 2555)
ปรับตัวธุรกิจหลังวิกฤติน้ำท่วม
วิกฤติน้ำท่วมครั้งร้ายแรงในรอบ 50 ปีของประเทศไทย ทำให้นักธุรกิจต้องวางแผนและปรับตัวอย่างมากและติดตามอย่างใกล้ชิด
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2554)
เศรษฐกิจเปราะบาง
เหตุการณ์น้ำท่วมในปีนี้ได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก เพราะถือว่าเป็นเรื่องใกล้ตัวมากที่สุด ยิ่งมีการประเมินความเสียหายที่เกิดขึ้นโดยรวมทั้งหมด ว่ากันว่ามีมูลค่าถึง 1 ล้านล้านบาท แต่สิ่งที่เกิดขึ้นไม่สามารถสรุปว่าเป็นทิศทางเศรษฐกิจของไทยทั้งหมด ทว่า ความเปราะบางของเศรษฐกิจโลกเป็นเรื่องที่ต้องจับตามองต่อไป
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2554)
อิตาลีล้ม euro zone ล่ม
euro zone จะอยู่รอดหรือไม่ ขึ้นอยู่กับอิตาลีจะรอดหรือไม่ ในที่สุด Silvio Berlusconi ก็ยอมลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอิตาลี หลังจากครองอำนาจมานาน 8 ปีครึ่ง แต่อาจจะสายเกินไป กว่าที่เขาจะยอมลาออกนั้น ดอกเบี้ยพันธบัตรอิตาลีก็พุ่งขึ้นไปเกือบ 7.5% แล้ว ซึ่งเป็นระดับที่จะทำให้อิตาลีล้มละลายในท้ายที่สุด หลังจากที่เกิดการแห่ถอนเงินจากธนาคาร
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2554)
โลกาภิวัตน์ รากเหง้าปัญหาวิกฤติยุโรป
วิกฤตเงินยูโรไม่เหลือความสามารถของยุโรปที่จะแกไข แต่การปฏิเสธกระแสโลกาภิวัตน์ต่างหาก คือรากเหง้าของความล้มเหลวในการแกปัญหาวิกฤติยุโรป
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2554)
ประสาร ไตรรัตน์วรกุล มองเศรษฐกิจ ปี 2555
ปี 2555 กำลังกลายป็นเรื่องท้าทายเศรษฐกิจระดับโลกและประเทศไทย หลังจากวิกฤติเศรษฐกิจของยุโรปถดถอยอย่างหนัก คาดการณ์กันว่าจะลุกลาม “ประสาร ไตรรัตน์วรกุล” ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ให้มุมมองว่าประเทศไทยจะเป็นอย่างไร
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา พฤศจิกายน 2554)
ปี 2030 โลกจะสลับขั้ว
สิบกว่าปีก่อนหลังวิกฤตการณ์ต้มยำกุ้ง 2540 เพิ่งเกิดและสังคมไทยยังต้องต่อสู้กับพิษตกค้างของวิกฤตการณ์ทางการเงินครั้งสำคัญที่สุดครั้งหนึ่งของประวัติศาสตร์ชาติ เวลานั้น ผมยังเป็นนิสิตตัวน้อยในรั้วคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ตุลาคม 2554)
วิกฤติหนี้ยุโรปฤาจะพายูโรล่มสลาย
ยุโรปกำลังเดินมาถึงทางแพร่งที่ต้องเลือกระหว่างจับมือกันเดินต่อ หรือ ทางใครทางมัน แม้เงินยูโรจะยังไม่ถึงจุดจบในเดือนกันยายนที่ผ่านมา แต่นั่นอาจเป็นจุดเริ่มต้นของการตัดสินชะตาเงินสกุลเดียวแห่งยุโรป ความสงบที่เกิดขึ้นเพียงช่วงสั้นๆ ในตลาดการเงินโลก จากการที่ธนาคารกลางแห่งยุโรป (European Central Bank: ECB) ตัดสินใจแทรกแซงตลาดพันธบัตรตั้งแต่เดือนสิงหาคม
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ตุลาคม 2554)
ใครจะช่วยกู้เศรษฐกิจโลก?
ปี 2008 เมื่อ Lehman Brothers ล้ม ราคาหุ้นดิ่งเหว Wall Street พังทลาย การเงินและการค้าทั่วโลกหยุดชะงัก รัฐบาลและธนาคารกลางทั่วโลกได้ก้าวเข้ามาช่วยกู้เศรษฐกิจโลกเอาไว้ แม้ว่า “เศรษฐกิจถดถอยครั้งใหญ่” (Great Recession) ในวันนั้น จะน่ากลัวอย่างยิ่ง เป็นเศรษฐกิจขาลงที่ร้ายแรงที่สุด นับตั้งแต่ทศวรรษ 1930 เป็นต้นมา
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กันยายน 2554)
จีนอาจช่วยป้องสหรัฐฯ จากการถดถอยครั้งที่ 2
ความปั่นป่วนวุ่นวายในตลาดหุ้นสหรัฐฯ เมื่อเดือนสิงหาคม ทำให้อนาคตเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ดูเลวร้ายอย่างมาก การเติบโตที่เชื่องช้าของสหรัฐฯ กลับมาเป็นที่สนใจของทั่วโลกอีกครั้ง
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กันยายน 2554)