รีเอ็นจิเนียริ่งภาครัฐ ต้องการผู้นำที่ดีและนั่งเก้าอี้นาน
ความล่าช้าและล้าหลังของระบบราชการที่ไม่สามารถตามทันกับการเปลี่ยนแปลงของโลกที่กำลังเข้าสู่ยุคการค้าไร้พรมแดน
และยุคข้อมูลข่าวสารได้กลายเป็นอุปสรรคที่ส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันของประเทศโดยรวม
และนับวันก็ยิ่งจะเป็นปัญหาที่สร้างความหนักใจให้กับหลาย ๆ ฝ่าย
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2540)
เสถียร ตันธนะสฤษดิ์"ทุกอย่างที่เกิดขึ้นตอนนี้ เป็นเรื่องของHIGHLY EMOTIONAL MARKET"
หลังเหตุการณ์ Mexican Crisis เมื่อปลายปี 1994 ประเทศไทยได้ตกเป็นเป้าสายตาของประชาคมโลก
เพราะมีแนวโน้มว่ากำลังเดินตามรอยเม็กซิโกโดยมีปัจจัยปัญหาพื้นฐานที่คล้ายคลึงกัน
ไม่ว่าจะเป็นการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดจำนวนมหาศาล หนี้ต่างประเทศที่พอกพูนสั่งสมมากขึ้นทุกขณะ
โดยเฉพาะหนี้ระยะสั้นที่หลั่งไหลเข้ามาเป็นจำนวนมาก
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2539)
4 แผนงานเพื่อสานฝันของไทยเอนจิน ฯ
เสียงบ่นหนาหูว่าปีนี้เศรษฐกิจซบเซา ยอดขาย และกำไรของธุรกิจต่าง ๆ พลาดเป้าไปตามกัน
ทว่าผลประกอบการของ บริษัท ไทยเอนจิน เมนูแฟ็คเจอริ่ง จำกัด (มหาชน) หรือ
TEM ผู้ผลิตเครื่องยนต์ดีเซลขนาดเล็ก เพื่อใช้ในการเกษตร ยี่ห้อ "มิตซูบิชิ"
กลับออกมาสวนกระแสภาวะดังกล่าว
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2539)
ล้มแบงก์หนี้เสียกับการหาเสียง
ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์สำนักหนึ่ง ระบุว่ารัฐบาลสามารถเข้ามามีส่วนสร้างความเติบโตให้กับเศรษฐกิจของประเทศได้อย่างสำคัญ
บางทฤษฎียืนยันว่า เศรษฐกิจมีกลไกในตัวที่ควรจะปล่อยให้ดำเนินไปเองตามธรรมชาติ
โดยปราศจากการแทรกแซง
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2539)
"KPN VISION 2000 งานประกาศอิสรภาพของ เกษม ณรงค์เดช"
การจัดงานเมื่อค่ำคืนที่ 5 ตุลาคม ณ โรงแรมดุสิตธานี โดยกลุ่มเคพีเอ็น มีเพียงวัตถุประสงค์เดียว เพื่อการเปิดภาพของอาณาจักรเคพีเอ็นออกสู่สายตาของสังคมรอบข้าง ประหนึ่งว่าพร้อมแล้วที่จะเปิดเผยตัวตน ว่ายิ่งใหญ่เพียงไร
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2538)
โอกาสรอด 'ยูนิคอร์ด' เมื่อ ดำริห์ ก่อนันทเกียรติ รับผิดชอบด้วยชีวิต
หลังการตายของดำริห์ หลายคนอาจเข้าใจว่า อนาคตของยูนิคอร์ด ยิ่งดูมืดมนหนักขึ้น
แต่ในทางตรงข้ามน่าจะเป็นการฉุดให้สถานการณ์ที่เข้าตาจนกลับมีหนทางอีกครั้ง
ดำริห์หวังเพียงแค่นี้เพื่อให้ยูนิคอร์ดอาณาจักรที่สร้างมาด้วยมือตนเองยังพอมีทางออกอยู่บ้าง
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2538)
"เงินบาท" ตั้งมั่น ท่ามกลางวิกฤติเงินดอลลาร์
นับตั้งแต่พฤศจิกายนปี 2537 เป็นต้นมา นักบริหารเงินทุกคนแทบไม่มีใครคาดคิดว่าค่าเงินดอลลาร์
ซึ่งเป็นเงินสกุลหลักของโลกจะเสื่อมค่าได้อย่างรวดเร็วอย่างน่าใจหาย จากระดับที่กว่า
100 เยนถูกเทขายจนลงมาเหลือ 80.10 เยนต่อดอลลาร์ต่ำที่สุดในประวัติศาสตร์ค่าเงินดอลลาร์
เมื่อวันที่ 10 เมษายนที่ผ่านมา
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2538)
" ดำริห์" ยอมยกธงขาว อนาคตยูนิคอร์ตจะดีขึ้น?
การปรากฏเป็นข่าว เมื่อปลายเดือนกุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา พร้อมด้วยการชี้แจงจากยูนิคอร์ด
ถึงการคลี่คลายวิกฤต ด้วยการปลดเปลื้องหนี้สินที่ก่อขึ้นจากผลกำดำเนินงานภายใต้บับเบิ้ลบี
ซีฟู้ดส์ ที่ทำให้คิดไปว่ายูนิคอร์ด จะสามารถฟื้นสถานการณ์จากที่เลวร้ายมากมาก
กลับมาหายใจโล่งอกและมีอนาคตได้อีก
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2538)
"วิกฤติการบริหารธุรกิจในจีน"
การปฏิรูปเศรษฐฏิจในจีน จากเศรษฐกิจที่วางแผนและควบคุมจากส่วนกลางไปสู่เศรษฐกิจเสรีตามกลไกตลาด
จะทำให้เศรษฐกิจจีนมีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกและจะส่งผลในทางบวกต่ออนาคตของภูมิภาคเอเซีย
แปซิฟิค
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2537)
"คำตอบอยู่ที่หมู่บ้าน"
ราเจนดร้า อะเนจากำลังตรวจนับสต็อคผงซักฟอกบนชั้นวางของในร้านแห่งหนึ่งที่อยู่ในเมืองเฟทฮาแบด ทางเหนือของอินเดีย รถมารูติ ยิบซีสีน้ำเงินใหม่เอี่ยมแล่นเข้ามาจอดที่หน้าร้านคนที่กำลังก้าวลงมาจากรถเป็นชาวนาร่างกำยำเขาเดินเข้ามาในร้านแล้วก็เริ่มต้นสั่งของ "เอานี่ 200 ข้าว 30 โล ข้าวสาลีอีก 20 กิโลด้วย---"
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2537)