จีนกับวิกฤติการสูญเสียสถานะ "โรงงานของโลก"
เป็นที่ทราบกันดีว่า ประเทศจีน ครองตำแหน่ง "โรงงานของโลก (World Factory)" มานานหลายปีเต็มที ด้วยความได้เปรียบทางด้านต้นทุนทางวัตถุดิบและต้นทุนทางด้านแรงงานที่ต่ำกว่าประเทศอื่นๆ ขณะเดียวกันก็ยังเป็นประเทศที่มีตลาดภายในที่มีขนาดใหญ่มหึมาอีกด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2551)
เศรษฐกิจเขตยูโรทำไมถึงต้องเป็นเรา
วิกฤติสินเชื่อโลกเริ่มต้นจากสหรัฐฯ แต่ยุโรปอาจกลับกลายเป็นแพะรับบาป ช่วยไม่ได้ที่ชาวยุโรปจะรู้สึกว่าเป็นฝ่ายถูกทำร้าย ความตกต่ำของตลาดบ้านและที่อยู่อาศัยในสหรัฐฯ เป็นตัวจุดชนวนให้เกิดวิกฤติในตลาดสินเชื่อ
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2551)
ยุโรปตะวันออก งานเลี้ยงใกล้เลิกรา
หลังจากวิ่งฉิวมานานหลายปี เศรษฐกิจยุโรปตะวันออกกำลังจะเปลี่ยนมาเป็นเดิน เศรษฐกิจยุโรปตะวันออกเจริญรุดหน้าอย่างสวยหรูมานานหลายปี และงานเลี้ยงก็ยังไม่จบลงเสียทีเดียว
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2551)
ที่ดินอันรกร้างของสเปน
อดีตดาวรุ่งพุ่งแรงทางเศรษฐกิจของเขตยูโรโซน กลับกลายเป็นประเทศที่กำลังฉุดรั้งเศรษฐกิจของทั้งภูมิภาค บ้านที่สร้างครึ่งๆ กลางๆ หาใครเป็นเจ้าของไม่ได้จำนวนมาก กำลังกลายเป็นอนุสรณ์ความตกต่ำทางเศรษฐกิจของสเปนในขณะนี้
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2551)
ปัญหาเงินเฟ้อของอังกฤษ
ตราบใดที่ราคาสินค้ายังคงแพงขึ้นอย่างไม่หยุดยั้ง ธนาคารกลางอังกฤษก็ไม่อาจลดดอกเบี้ยได้ ซึ่งไม่เป็นผลดีต่อรัฐบาลที่กำลังคลอนแคลน
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2551)
ข่าวดีของเงินดอลลาร์
เศรษฐกิจของประเทศร่ำรวยกำลังใกล้จะถดถอย แต่กลับเป็นข่าวดีสำหรับค่าเงินดอลลาร์ ผู้จัดการกองทุนและผู้บริหารธนาคารต่างเรียนรู้ว่า นักลงทุนมักจะยอมให้อภัย ถ้าหากว่านักลงทุนรายอื่นๆ กำลังขาดทุนเช่นเดียวกันกับพวกเขา
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2551)
"เงินเฟ้อยังดีกว่าเงินฝืด"
"โดยส่วนตัว ผมคิดว่าทั่วๆ ไปนั้น เงินเฟ้อดีกว่าเงินฝืด สำหรับเรานะ คือมีเงินเฟ้อหน่อยๆ นี่ ดีกว่าไม่มีเงินเฟ้อเลย ดังนั้น ผมยังแปลกใจว่าบ้านเรา ตลอดเวลาที่ผ่านมา ตั้งแต่ช่วงปี 1997 ที่เราลอยตัวค่าเงิน จนถึงช่วงหลังๆ นี้ อัตราเงินเฟ้อต่ำมาก ต่ำเกินไปด้วยซ้ำ 2-3% แล้วทุกอย่างก็โดนควบคุมหมด ผมว่าแบบนี้ไม่น่าจะดี ผมว่ามีเงินเฟ้อหน่อยจะดี สัก 4-5% หรือ 5-6% ผมว่าน่าจะดีกว่า แต่แน่นอน ถ้ามันไปแบบเวียดนามก็ไม่เอา เป็น 20% อย่างนี้ก็ลำบากแน่นอน อันนั้นคือ high inflation..."
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2551)
เมื่อใดความเจ็บปวดจึงจะจบ
เศรษฐกิจสหรัฐฯ เป็นเครื่องยนต์ของการเติบโตทางเศรษฐกิจของโลกตลอด 25 ปีที่ผ่านมา ซึ่งเป็นผลจากการดำเนินนโยบายที่ถูกต้องของรัฐบาลและธนาคารกลางสหรัฐฯ
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2551)
เหตุใดเอเชียไม่สามารถกอบกู้โลก
ผู้ส่งออกของเอเชียเคยช่วยค้ำจุนเศรษฐกิจโลก แต่บัดนี้เศรษฐกิจที่ชะลอตัวและเงินเฟ้อที่พุ่งขึ้นกำลังคุกคามการเติบโตที่มหัศจรรย์ของพวกเขา
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2551)