"เรซอแนนซ์" แค่เริ่มต้นก็ใหญ่แล้ว
สมคิด ตันทัดวาณิชย์กุล เป็นคนสำคัญที่จะสานฝันของราศรี บัวเลิศ ในการบริหารเรซอแนนซ์
เซ็นเตอร์ และสินค้าไทยแบรนด์เนม เรซอ-แนนซ์ เพื่อบุกตลาดโลก ในขณะเดียวกัน เรซอแนนซ์จะมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งที่จะ
ทำให้เธอขายพื้นที่ตึก
RCK ทาวเวอร์มูลค่ากว่า 15,000ล้านบาท บนถนนสีลมนั้นได้ง่ายขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2542)
"จรินทร์ รอดประเสริฐ วันนี้ กับงานฝ่ากระแสคลื่นอินทีเรียร์นอก"
งานตกแต่งภายใน เป็นงานที่เดินเคียงคู่ไปกับการรังสรรค์โครงสร้างบ้านให้ดูโอ่โถงตระการตา หากการออกแบบและรังสรรค์ความวิจิตรเพริศแพร้วภายในบ้าน ไปคนละทางกับงานภายนอกเสียแล้ว ความใหญ่โตอลังการของบ้านก็แทบจะไม่มีคุณค่าอะไรเลย
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2537)
"ข้างหลังภาพของกำจร สถิรกุล"
"เพียงภาพเดียวก็แทนคำพูดได้นับหมื่นคำ"
ภาพ "แม่ของลูก" โดยฝีมือวาดของกำจร สถิรกุล อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย
และปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นประธานบริษัทยูนิคอร์ด ได้สะท้อนถึงความรู้สึกลึกซึ้งที่มีต่อมารดาบังเกิดเกล้า
"ห่วง สถิรกุล"
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2535)
ณพงษ์ สงวนนภาพร สร้างฝันใหม่ไปกับบรรษัท
การที่ใครสักคนจะสลัดสถานะความเป็นลูกจ้างทิ้งแล้วก้าวเข้าสู่เส้นทางของนักธุรกิจนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย
โดยเฉพาะในสภาพการณ์ที่เต็มไปด้วยกลไกการแข่งขันอันซับซ้อนทั้งด้านทุนการบริหารและเทคโนโลยี
แต่ "ณพงษ์ สงวนนภาพร" เป็นหนึ่งในไม่กี่คนที่ทำได้
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2535)
"มาตรา 7 ของอนุสัญญายูเนสโก ปี 1970"
เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2520 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชนิพนธ์คำขวัญ
เพื่ออันเชิญลงพิมพ์ในหนังสืออนุสรณ์ ของสภาบันการศึกษาแห่งหนึ่ง ความว่า
"เกียรติประวัติมิใช่อดิตที่น่าชื่นชมสำหรับจะนำมา ซึ่งความภาคภูมิใจกันเท่านนั้น
แท้จริงยังเป็นรากฐานหลักประกันอันมั่นคงที่สุด สำหรับก่อตั้งสร้างเสริมอันความเจริญงอกงามอันไม่มีที่สิ้นสุดต่อไปในอนาคตด้วย"
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2534)
"ซอธบี้" ความหวังใหม่ของนักสะสม
ปัจจุบันนอกจากผู้คนจะให้ความสนใจในศิลปะร่วมสมัยแล้วยังหลงใหลและพยายามที่จะหาทางให้ได้มาซึ่งวัตถุอันเป็นศิลปะความสวยงามสมัยเก่า ที่ดูขลัง ทรงคุณค่าและมีเสน่ห์อยู่ในตัว กระแสความต้องการนี้เองที่ทำให้เกิดศูนย์ประมูลต่าง ๆ ขึ้นมากมาย แต่ที่มีชื่อเสียงโด่งดังในขณะนี้เห็นจะได้แก่ศูนย์ประมูล "ซอธบี้" ที่กำลังขยายสาขาในนานาประเทศ
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2534)
ธุรกิจกับศิลปะ เรื่องของกรรมสิทธิ์และลิขสิทธิ์
ธุรกิจกับศิลปะเป็นสองสิ่งซึ่งโดยเนื้อหาที่เป็นสาระสำคัญของแต่ละฝ่ายแล้วไม่น่าที่จะต้องมาเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันแต่อย่างใด
ด้วยความที่ธุรกิจนั้นเป็นเรื่องของเงินๆทองๆ ที่รู้กันในรูปของผลกำไร ขาดทุน
ในขณะที่ศิลปะเป็นเรื่องของผลงานสร้างสรรค์จากจินตนาการที่จะสัมผัสเข้าถึงได้ด้วยอารมณ์ความรู้สึก
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2532)
สวนหินของคนชื่อชูชีพ ศิลปรัตน์ ไปๆ มาๆ มันก็เรื่องของเงินลงกล่อง
ณ สถานที่แห่งนั้น บ้านกร่ำ เมืองแกลง จ.ระยอง บ้านเกิดเมืองนอนของท่านมหากวีเอก
"สุนทรภู่" ซึ่งเบื้องหน้าปรากฏผืนท้องทะเลใหญ่กว้างไกลสุดสายตา
เกลียวคลื่นม้วนตัวสาดซัดกระทบฝั่ง พร้อมกับแผ่วเสียงเบาจากสายลมราวประหนึ่งเสียงดนตรีที่นำมาซึ่งความชื่นฉ่ำและมนต์ขลังแห่งท้องทะเลนับชั่วกัปกัลป์
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2531)
บุญชูกับศิลปวัฒนธรรมและวงการวรรณกรรม
ถึงแม้ถวัลย์ ดัชนี จะเคยพูดในวงเหล้าว่ารสนิยมศิลปะของนายธนาคารทั้งหลายเป็นรสนิยมระดับจัณฑาลก็ตาม แต่บุญชูเองก็เป็นคนที่รักในด้านศิลปวัฒนธรรมที่มีรสนิยมค่อนข้างสูงพอสมควร
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2527)