ปักหลักธุรกิจรีไซเคิล ในวัฒนธรรมผลิตของใช้แล้วทิ้ง
ญี่ปุ่นเป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมออกแบบและผลิตสินค้าสำหรับใช้แล้วทิ้งมานานจนรู้กันดีในทั่วโลก
แต่ประมาณ 4 ปีที่แล้ว D & Department ถือกำเนิดขึ้นบนเว็บไซต์โดย Kenmei
Nagaoka ผู้เป็นกราฟิกดีไซเนอร์โดยอาชีพ
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
สร้างเสน่ห์บนแผ่นไม้เก่า
เศษไม้ริมถนนในจังหวัดอยุธยา ถูกจับมาแต่งแต้มใหม่ด้วยสีอะคริลิค
เป็นรูปดอกไม้เมืองร้อนที่เรียบง่าย แต่ได้สร้างมูลค่าเพิ่มขึ้นมาอีกมากทีเดียว
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2546)
ผลิตภัณฑ์จากไม้ตาล
นอกจากชาวบ้านอาจจะเอาไม้ตาลแห้งๆ มาสุมไฟ เป็นไม้ฟืนเคี่ยวน้ำตาลโตนด ส่วนกิ่งที่เหลือก็อาจจะกอง
ทิ้งไว้ นานๆ เข้าอาจจะเผาไฟทิ้งเสียสักครั้ง
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2545)
ภูมิปัญญาไทยในตลาดโลก
เมื่อสินค้าต่างๆ จากภูมิปัญญาของชาวบ้านในชนบท กำลังเดินทางไปวางขายในตลาดโลกการพัฒนาด้านการออกแบบ
จึงจำเป็นอย่างมากๆ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2544)
เสน่ห์... ไม้ไผ่
เศษไม้ไผ่ที่วางกองเล็กกองน้อย กระจายไปทั่วโรงงานแห่งนั้น ดูราวกับว่าเป็นเศษไม้ที่ไร้ค่า
แต่..ศกานต์ นามวิชา บอกว่า นั่นล่ะ...กองเงินกองทองของผม
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2544)
"นารายา" สินค้าที่ไม่อยากเลียนแบบ
"ราคา" เป็นสิ่งสำคัญที่สุดทำให้ "นารายา" เป็นที่รู้จักอย่างรวดเร็ว ทั้งชาวไทยและต่างประเทศ นอกเหนือจากดีไซน์แบบที่หลากหลาย และคุณภาพซึ่งเป็นที่ยอมรับ มีไม่มากนักหรอกที่สินค้าในศูนย์การค้าดัง ๆ จะตั้งราคาขายเดียวกับสินค้าในตลาด "สำเพ็ง"
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2543)
Propaganda สู่ปารีส
ปี 2000 เป็นก้าวใหญ่สำหรับ Propaganda ในการออกไปในต่างแดน เปิดชอปที่ฝรั่งเศส พร้อมนำเสนองาน "Product Design" สู่สายตาชาวโลก
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2543)
"Propaganda" จากกราฟิกดีไซน์สู่โปรดักส์ดีไซน์
หลังจากประสบความสำเร็จอย่างมากในการผลิตและจำหน่ายสินค้าตกแต่งภายใต้แบรนด์ "Propaganda" เพราะมียอด
จำหน่ายต่างประเทศถึง 80% ของสินค้าที่ผลิตทั้งหมด มาบัดนี้ Propaganda เริ่มเผชิญอุปสรรคหลายด้าน โดยเฉพาะใน
ตลาดต่างประเทศที่วิธีขายขาดทำให้การจัดวางสินค้าในตลาดเจอคู่แข่งสูงมาก เมตตา สุดสวาท ตัดสินใจปิดฉาก
งานกราฟิกดีไซน์ของ Propaganda ที่ใช้ เป็นกลยุทธ์เปิดตลาดในตอนเริ่มต้นหันมามุ่งสร้างงานโปรดักส์ดีไซน์ เพื่อหนี
ไกลคู่แข่งทั้งหลาย แถมด้วยการก้าวสู่ปารีส-ศูนย์กลางการชอปปิ้ง เพื่อเปิดชอป "เมดอินไทยแลนด์" ใช้เป็นหัวหอกบุกเบิก
ตลาดต่างประเทศ เถลิงศก ค.ศ. 2000
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2542)
งานดีไซน์ 6 ชิ้นโปรดของ สุมาลี สระตันติ์
ใครจะไปคิดว่าดีไซเนอร์ ผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการที่ทำให้เครื่องประดับของบริษัทแพรนด้า
จิวเวลรี ได้รับความนิยมอย่างมากทั้งในตลาด เมืองไทยและต่างประเทศ จนต้องขยายสาขาเพิ่มขึ้นเเป็น
51 สาขาในวันนี้ และสามารถทำยอดขายรวมประมาณ 500
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2542)