คุณรู้จัก “แฟร์เทรด” แค่ไหน?
หากพูดถึง "แฟร์เทรด" เชื่อว่าคุณผู้อ่านหลายท่านคงจะยังไม่คุ้นหูกับคำคำนี้ แต่ในประเทศพัฒนาแล้วทั้งยุโรป สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ "แฟร์เทรด" กำลังเป็นเทรนด์ใหม่ของคนรุ่นใหม่ ที่ใส่ใจต่อสวัสดิภาพและความเป็นอยู่ของเพื่อนร่วมโลกในประเทศยากจน โดยแสดงเจตนารมณ์ในการช่วยเหลือประเทศเหล่านั้นผ่านอำนาจการซื้อของตน
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กันยายน 2552)
บริษัทจีนประกาศศักดา
บริษัทของจีนตั้งแต่บริษัทผลิตเครื่องบินจนถึงธนาคารและบริษัทน้ำมัน ต่างยกขบวนเข้าติดอันดับบริษัทที่มีรายได้มากที่สุดในโลก
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กันยายน 2552)
แม่น้ำเมย: ลำน้ำหมื่นล้าน
"น้ำเมย หรือแม่น้ำต่องยิน" นอกจากจะเป็นเส้นกั้นเขตแดนระหว่างชายแดนตะวันออกของพม่ากับแนวชายแดนตะวันตกของไทย ด้าน อ.แม่สอด จ.ตาก ที่มีความยาว 327 กม. มีต้นน้ำอยู่ที่บ้านมอเกอ ต.พบพระ อ.พบพระ และไหลย้อนขึ้นไปทางทิศเหนือ ผ่าน อ.ท่าสองยาง ไปถึงแม่ฮ่องสอน ก่อนจะไหลลงสู่แม่น้ำสาละวินแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา พฤษภาคม 2552)
มิงกลาบา: เมียวดี
ชุมทางการค้า เส้นทางแห่งการสงครามในอดีตอย่าง "เมียวดี" ณ วันนี้ กำลังถูกจับแต่งให้เป็นจุดเชื่อมต่อที่สำคัญในเชิงยุทธศาสตร์สำหรับชายแดนตะวันออกของพม่ากับแนวรบด้านตะวันตกของไทย รวมถึงอาเซียน แน่นอน! การเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ย่อมมีผลต่อไทยไม่น้อย
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา พฤษภาคม 2552)
ภาษาไทยในตลาดกลางคุนหมิง
ขณะที่ สป.จีนทุ่มเทกับนโยบาย "ตงหมง" คือการเปิดเส้นทางให้มณฑลทางตะวันตกเฉียงใต้ได้มีทางออกสู่ทะเลผ่านโครงข่ายคมนาคมเชื่อมกับพม่า ลาว เวียดนาม และไทย ซึ่งกำลังเห็นผลเป็นรูปธรรมมากขึ้นเรื่อยๆ นั้น
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา เมษายน 2552)
"ซานไจ้" วัฒนธรรมค้ำเศรษฐกิจจีน
ก่อนลงมือเขียนบทความผมเพิ่งได้อ่านบทสัมภาษณ์ของจิม โรเจอร์ส กูรูเศรษฐกิจโลกที่ให้สัมภาษณ์กับสำนักข่าวเอเอฟพีเกี่ยวกับวิธีการเอาตัวรอดในยุคที่เศรษฐกิจโลกกำลังถดถอย แล้วรู้ไหมครับว่า จิม โรเจอร์ส พูดว่ายังไง?
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กุมภาพันธ์ 2552)
น่งเต่า : หนองเตา หมู่บ้านที่ไทยน่าจะดูเป็นเยี่ยงอย่าง
บริเวณเมืองชายแดนของแต่ละประเทศ มักถูกใช้เป็น Buffer State เพื่อความมั่นคงของรัฐชาติมาหลายทศวรรษ แต่ที่พรมแดนจีน-พม่า พื้นที่ชายแดนระหว่างมูเซของพม่ากับรุ่ยลี่ เขตปกครองตนเองชนชาติไต-จิงโพ่แห่งเต๋อหง มณฑลหยุนหนัน สป.จีน กลับถูกนำมาใช้เป็นแหล่งท่องเที่ยว เป็นพื้นที่พัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ที่สามารถต่อยอดไปสู่การพัฒนาการค้า-การลงทุนระหว่างกันได้อย่างน่าสนใจ
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กุมภาพันธ์ 2552)
เขตเศรษฐกิจชายแดนตาก วันนี้! ยังมีแค่มติ ครม.
มติ ครม.สัญจรที่ อ.แม่สอด จ.ตาก เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2547 อนุมัติให้ยกระดับ 3 อำเภอชายแดนของจังหวัดตาก คือแม่สอด แม่ระมาด และพบพระ เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน เป็นกรอบการพัฒนาพื้นที่ชายแดนไทย-พม่า ด้านจังหวัดตาก
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กุมภาพันธ์ 2552)
"ตาก-เต๋อหง" Sister City
ระหว่างการเดินทางไปร่วมงานแสดงสินค้าพม่า-จีน ที่เขตเศรษฐกิจพิเศษมูเซ ประเทศพม่า คณะตัวแทนจากภาครัฐ-เอกชนจังหวัดตาก นำโดยสาโรช แสงอรุณ รองผู้ว่าราชการจังหวัดตากได้ร่วมหารือกับ Meng Biguang ผู้ว่าการเขตปกครองตนเองชนชาติไต-จิงโพ่ แห่งเต๋อหง พร้อมคณะ ในประเด็นการสถาปนาความสัมพันธ์เมืองพี่เมืองน้องระหว่างตาก-เต๋อหง
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กุมภาพันธ์ 2552)
หว่านติง-Burma Road สะพานแห่งประวัติศาสตร์การค้าจีน-พม่า
"หว่านติง" อีก 1 หัวเมืองชายแดนในเขตปกครองตนเองชนชาติไต-จิงโพ่แห่งเต๋อหง มีพรมแดนติดกับพม่า 28.6 กิโลเมตร ห่างจากเมืองลาเฉียวของพม่า 188 กิโลเมตร และห่างจากมัณฑะเลย์ เมืองใหญ่อันดับ 2 ของพม่า 584 กิโลเมตร ในอดีตถือเป็นช่องทางการค้าระหว่างจีน-พม่าที่รุ่งเรือง ก่อนที่จะมีการพัฒนา "เจียก้าว-มูเซ" ขึ้นมาเป็นประตูการค้าแห่งใหม่
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กุมภาพันธ์ 2552)