R3a เส้นทางสู่สวรรค์จริงหรือ?
โครงข่ายคมนาคมตามระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ (North-South Economic Corridor) ในมุมมองของภาคธุรกิจเอกชนในพื้นที่ ล้วนเห็นตรงกันว่าเป็นเส้นทางเศรษฐกิจสายใหม่ที่เป็นความหวังใหม่ในอนาคตอันใกล้นี้ แต่เมื่อย้อนกลับมาดูการก้าวย่างของรัฐไทย หลายคนบอกว่าอาจจะทำให้เส้นทางสู่สวรรค์สายนี้กลายเป็นเส้นทางลงสู่นรกในไม่ช้า
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2552)
Getting Credit Under Lao PDR Laws
ฉบับที่แล้ว ดิฉันมีโอกาสเขียนถึงระบบสถาบันการเงินของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ซึ่งถือเป็นแกนหลักหนึ่งที่สำคัญของระบอบเศรษฐกิจของประเทศเล็กๆ ที่มีศักยภาพในการเติบโตสูงมากประเทศนี้ไปแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2552)
ธุรกรรมเงินหยวน
บทบาทของการค้าไทย-จีนคืบหน้าไปอีกขั้นหนึ่ง เมื่อการค้าต่างประเทศสามารถชำระธุรกรรมด้วยสกุลเงินหยวนผ่านบริการของธนาคารกสิกรไทยกำลังเริ่มขึ้นอย่างช้าๆ ธนาคารกสิกรไทยซึ่งคาดว่าจะช่วยส่งเสริมการค้าของสองประเทศให้คล่องตัวขึ้น และลดความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2552)
ความตื่นตัวท่ามกลางความขัดแย้ง
กรณีที่เกิดขึ้นระหว่างไทยและกัมพูชาช่วงกว่าเดือนที่ผ่านมาได้ก่อให้เกิดความตื่นตัวในหมู่คนไทยเป็นจำนวนมาก สิ่งบ่งชี้ให้เห็นถึงความตื่นตัวดังกล่าวคือเวทีเสวนาที่หยิบยกเรื่องดังกล่าวขึ้นมาพูดที่เกิดขึ้นหลากหลายเวทีด้วยกัน
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2552)
แฟร์เทรด คอนเซ็ปต์ดี แต่เข้าถึงยาก?
ผู้เขียนได้เขียนบทความเรื่องแฟร์เทรดมาหลายครั้งตามสื่อต่างๆ ส่วนหนึ่งก็เพื่อที่จะกระตุ้นให้ทั้งภาครัฐและเอกชนของไทยเริ่มตื่นตัวกับตลาดทางเลือกใหม่ที่เรียกว่า Ethical Consumerism หรือตลาดที่ผู้บริโภคยึดจริยธรรมและความเป็นธรรมทางสังคมเป็นหลักในการเลือกซื้อสินค้า
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ตุลาคม 2552)
การตั้งรับและรุกกลับ
ปี 2552 เป็นปีที่มีตัวแทนรัฐบาลไทยเดินทางไปจีนบ่อยครั้งเป็นพิเศษ หากมองว่าการเดินทางเหล่านี้เป็นความพยายามดำเนินการตามยุทธศาสตร์ตั้งรับการแผ่อิทธิพลจากจีนเข้ามาในพื้นที่อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง และยุทธศาสตร์การรุกกลับ ก็คงต้องพิจารณาดูว่าความเคลื่อนไหวเหล่านี้ ดำเนินไปอย่างเป็นระบบและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์หลัก มากน้อยแค่ไหน
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ตุลาคม 2552)
ทัพหน้า (ไทย)
ถ้ากลุ่มพ่อค้าชาวจีนที่กำลังพยายามเข้ามาสร้างบทบาทกำหนดกลไกการค้าระหว่างจีนกับไทย คือทัพหน้าของการแผ่อิทธิพลทางเศรษฐกิจจากจีนเข้ามาในประเทศไทยแล้ว ทัพหน้าของไทยก็คือกลุ่มทุนต่างๆ ที่ได้ขนเงินเข้าไปลงทุนในภาคอุตสาหกรรมและบริการในจีน
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ตุลาคม 2552)
การเคลื่อนพลของทัพหลวง
ในวรรณกรรมอมตะ "สามก๊ก" ผู้นำทัพหลวงของแต่ละฝ่ายในแต่ละยุทธภูมิก็แตกต่างกัน บางยุทธภูมิผู้นำของก๊กอาจจำเป็นต้องนำทัพด้วยตนเอง แต่ในบางยุทธภูมิ ผู้นำอาจใช้เพียงทหารเอก หรือหาคนที่เหมาะสมสามารถต่อกรกับฝ่ายตรงข้ามได้เท่านั้นก็เพียงพอแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ตุลาคม 2552)
ทัพหน้า (จีน)
หากมองการแผ่อิทธิพลของจีนลงมาทางตะวันตกเฉียงใต้สู่อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เป็นดั่งการวางยุทธศาสตร์การรบแบบในวรรณกรรมอมตะ "สามก๊ก" แล้ว คนและสินค้าจากจีน เปรียบเสมือนทัพหน้าที่แม่ทัพส่งลงมาสอดแนม เจาะทลายแนวรับของข้าศึก รวมทั้งจับทหารฝ่ายตรงข้ามไว้เป็นไส้ศึก ก่อนที่ทัพหลวงจะกรีธาข้ามคูและกำแพงเมืองเข้ายึดค่าย จับตัวแม่ทัพ เพื่อให้ได้ชัยชนะอย่างเบ็ดเสร็จในภายหลัง
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ตุลาคม 2552)
อิทธิพลการค้า “จีน” กรณีศึกษา “ประเทศไทย”
กระแส "คลั่งจีน" เริ่มก่อตัวขึ้นทั่วโลกเมื่อ 10 ปีก่อน หลังองค์การการค้าโลก (WTO) มีมติรับสาธารณรัฐประชาชนจีนเข้าเป็นสมาชิก หลังจากสมาชิกภาพของจีนมีผลอย่างเป็นทางการตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2544 ภาพการตื่นตัวของประเทศต่างๆ เพื่อเกาะเกี่ยวไปกับการเติบโตของจีน ยิ่งมองเห็นได้อย่างชัดเจนขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ตุลาคม 2552)