ซิการ์สร้างศักยภาพของคน?
เดวิด ถัง ประธานกรรมการของบริษัท แปซิฟิก ซิการ์ โค ผู้จัดจำหน่ายบุหรี่ซิการ์จากคิวบา ทั่วทั้งทวีปเอเซีย ในปัจจุบันเขาเริ่มเปิดร้านจำหน่ายซิการ์ ที่ห้องล็อบบี้ของโรงแรมแมนดารินที่ฮ่องกง ซึ่งสามารถทำยอดขายได้อย่างน่าพอใจธุรกิจการค้าบุหรี่ซิการ์นั้น ถือเป็นหนึ่งในหลายกิจการที่ถังเป็นเจ้าของอยู่ อย่างเช่นไชน่า คลับ, แปซิฟิก โค, แปซิฟิก แบงก์, เอซีย เทเลวิชั่น, ซัน เดเวลอปเมนท์และซิตี้ บัส เป็นต้น
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2535)
"การทำการค้าของลาวยังล้าหลังมากๆ"
"ผู้นำลาวมองการค้าระหว่างประเทศเกี่ยวโยงกับประเด็นเรื่องความมั่นคง
ขณะที่ความสัมพันธ์ทางการค้ากับต่างประเทศ ยังไร้โครงสร้างที่ได้มาตรฐานสากล
การค้าต่างประเทศของลาวจึงเป็นภาคเศรษฐกิจที่ไม่มีพลังต่อการสร้างสรรค์มาตรฐานการกินดีอยู่ดีของประชาชน
ยกเว้นเจ้าหน้าที่และหน่วยงานของรัฐ"
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2535)
"วิชัยแห่งดาวน์ทาวน์กลับมาบริหารร้านค้าปลอดอากรอีกครั้ง!"
เมื่อ 2 ปีก่อนได้มีมติ ครม. ของรัฐบาลชุดชาติชายประกาศให้ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
(ททท.) รัฐวิสาหกิจอีกแห่งหนึ่งดำเนินธุรกิจร้านสินค้าปลอดอากรในเมืองไทยได้ในลักษณะของการให้สัมปทานเอกชน
ในการจัดดำเนินการโดยมีผลประโยชน์ร่วมกันระหว่าง ททท. และบริษัทเอกชนดังกล่าว
หลังจากให้การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทยทำธุรกิจชนิดเดียวกันในลักษณะเดียวกันนี้ที่สนามบินดอนเมือง
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2535)
กฎหมายคุ้มครองการเขียนสัญญาที่เป็นธรรม
เมื่อชั่วชีวิตหนึ่งเราเคยเชื่อว่า มนุษย์ทุกคนมีสิทธิเสรีภาพและมีความเท่าเทียมกันในการทำสัญญา
แต่เนื่องจากจุดอ่อนของระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม ทำให้เปิดโอกาสให้ผู้มีอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจที่สูงกว่าใช้อำนาจผูกขาดเศรษฐกิจไม่ให้มีการแข่งขัน
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2535)
เซลแมนการ ค้าไทย - ยุโรป
การขยายตัวของตลาดรสนิยมและความต้องการในสินค้าที่เปลี่ยนแปลงไป รวมถึงการส่งเสริมการขายซึ่งจะต้องเสียงบประมาณด้านค่าใช้จ่ายในปริมาณสูง ไม่ว่าจะเป็นค่าตัวอย่างสินค้า ค่าโบรชัวร์ ค่าโฆษณา ค่าเดินทาง ค่าที่พัก
และอื่น ๆ อีกมากมาย จึงทำให้เกิดแนวความคิดในการทำธุรกิจใหม่ที่เรียกว่า "PEGAVISION" ขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2534)
"ไทยยังไม่มีกฎหมาย ความรับผิดเกี่ยวกับสินค้าที่บกพร่อง"
เมื่อหลายวันก่อนมีหนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่งลงข่าวว่า ในประเทศจีนมีชาวนาชื่อ นายหวู เจียง ซี อุตส่าห์เก็บหอมรอมริบเงินเพื่อซื้อโทรทัศน์ที่ผลิตในประเทศจีนยี่ห้อหนึ่งให้สมาชิกในครอบครัวได้ดู แต่เจ้าโทรทัศน์เกิดระเบิดมาดื้อ ๆ เป็นเหตุให้ลูกชายนายหวูเสียชีวิตไป 1 คน อีกคนเป็นคนพิการ บ้านของนายหวูไหว้ไปกว่าครึ่งหลัง
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2534)
พ่อค้าไทย "เหยื่อ" โลกไร้พรมแดน
พวกเจ้าพ่อ พ่อค้าขี้ฉ้อ ค้าขายของเถื่อนมานานแล้วโดยมีตลาดใหญ่ที่หาดใหญ่และเยาวราช
เหตุเพราะระบบกฎหมายมีข้อบกพร่องและกำแพงภาษี กรมศุลกากรปราบปรามเหมือนขี่ช้างจับตั๊กแตน
8 เดือนที่ผ่านมาจับกุมได้ 586 ล้านบาทต่ำกว่าตัวเลขจริงมากมาย
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2534)
ขบวนการค้าของเถื่อน : ฝ่าปาดังเบซาร์
ขบวนการค้าของเถื่อนตามแนวชายแดนไทย-มาเลเซียนั้นไม่ใช่เพียงเกิด ถือกำเนิดมาแต่ดึงดำบรรพ์ตามลักษณะของพื้นที่ชายแดนโดยเฉพาะเริ่มก่อกำเนิดเป็นรูปเป็นร่างเอาเมื่อหลังสงครามโลกครั้งที่สอง
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2534)
"กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคที่ไม่คุ้มครองผู้บริโภค"
ปัจจุบันระบบเศรษฐกิจ การค้าและการบริการต่างๆ มีกระบวนการที่สลับซับซ้อนมากยิ่งขึ้น
และมีการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วด้วยระบบเทคโนโลยีใหม่ๆ เกินกว่าความรู้ของประชาชนผู้บริโภคจะตามได้ทัน
อีกทั้งการขยายตัวของธุรกิจต่างๆ มีการขยายตัวกว้างมากขึ้น ทำให้มีการแข่งขันสูงเป็นเหตุให้ผู้ประกอบการหาวิธีการต่างๆ
ที่ลดต้นทุนการผลิต และหาวิธีที่จะชักจูงผู้บริโภคให้ซื้อสินค้าหรือให้การบริการของตน
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2534)
นักค้าอาวุธอินเตอร์คืนสังเวียนธุรกิจ
อัดนัน คาช็อคกี้ นักอาวุธระดับอินเตอร์ฯ ชื่อกระฉ่อนโลกหวนคืนเวทีธุรกิจอีกครั้งหนึ่ง หลังจากที่พ้นโทษออกมาเมื่อฤดูร้อนปีที่แล้วในข้อหาช่วยอดีตสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของฟิลิปปินส์ อิเมลด้า มาร์กอส ซ่อนเร้นความมั่งคั่ง
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2534)