Somers - Albouys Nominee เฉพาะกิจ
ธุรกิจนอมินี ไม่ใช่มีเฉพาะรายใหญ่ที่มีเงินลงทุนและชื่อคุ้นหูเท่านั้น ประเภทเล็กๆ ชื่อไม่ดังก็มีให้เห็นอยู่เป็นประจำ แต่นอมินีเล็กๆ พวกนี้มีบทบาทและความเคลื่อนไหวที่น่าสนใจเช่นกัน
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2550)
Top 10 Nominees in the city
มีคนบางคนเคยเปรียบเปรยว่า เมื่อมีการจัดตั้งบริษัทขึ้นครั้งแรกในโลก เมื่อนั้นก็เกิดการถือหุ้นแทน (Nominee) ตามมาด้วย จึงไม่ใช่เรื่องแปลกใหม่ที่ธุรกิจส่วนใหญ่ในโลกนี้ ต่างมีบริษัทถือหุ้นแทน จนแทบจะกลายเป็นวัฒนธรรมไปแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2550)
ชิ้นเค้กซีกน้อยๆ ของจีน
สัปดาห์ก่อน คุณสุปราณี คงนิรันดรสุข แห่งนิตยสารผู้จัดการ ส่ง By The Tyne : มองอังกฤษยุคใหม่ที่เปลี่ยนไป หนังสือเล่มที่ 19 ในซีรีส์ The Global Link ที่เขียนโดยคุณวิไลลักษณ์ ถิรนุทธิ คอลัมนิสต์ของผู้จัดการที่เพิ่งจบการศึกษาระดับปริญญาเอกด้านเศรษฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยนิวคาสเซิลมาให้ผมอ่าน
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2549)
จุดเปลี่ยน "ธุรกิจครอบครัว"
ต้องยอมรับว่าโครงสร้างของธุรกิจไทย มีจุดเริ่มต้นและรากฐานที่ฝังลึกอยู่กับความเป็น "ธุรกิจครอบครัว" ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจขนาดใหญ่ หรือเล็ก จะเป็นภาคการเกษตร ภาคบริการ อย่างสถาบันการเงิน หรือภาคอุตสาหกรรม ตั้งแต่การผลิตวัตถุดิบ ไปจนถึงโรงงานประกอบ
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2549)
M&A เกมที่จีนเพิ่งหัดเล่น
ปลายปี 2547 ข่าวการประกาศซื้อและควบรวมกิจการ (Mergers and Acquisitions-M&A) บริษัทไอบีเอ็มในส่วน PC hardware ของบริษัทคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลอันดับหนึ่งของจีน อย่าง เหลียน เสี่ยง หรือชื่อภาษาอังกฤษคือ เลโนโว (Lenovo) สร้างความตกตะลึงให้กับผู้คนในวงการธุรกิจทั่วโลก
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2549)
สินค้าปลอมยุคใหม่
สินค้าปลอม (counterfeit) หมายถึงสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้าที่ไม่มีสิทธิ์ใช้หรือไม่ได้รับอนุญาตให้ใช้
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2549)
Our Move in 2006
เป็นปีที่สองติดต่อกันอีกครั้งสำหรับผู้บริหารของกลุ่มเซ็นทรัล จำกัด ที่ออกมานั่งบนเวทีแถลงข่าวครั้งสำคัญของบริษัทแบบครบทีม โดยมีสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ นั่งเป็นประธานการแถลงข่าว ขนาบข้างด้วยสุทธิชาติ จิราธิวัฒน์, สิทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์, สุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์, สุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ และปริญญ์ จิราธิวัฒน์ ที่คอยช่วยตอบคำถามในฐานะเป็นผู้บริหารที่ดูแลธุรกิจหลักทั้ง 5 ของกลุ่ม
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2549)
1 ศตวรรษในไทย
ถ้าถามถึงความคุ้นเคย ผู้บริโภคชาวไทยย่อมคุ้นกับชื่อของดีทแฮล์มมากกว่าชื่อดีเคเอสเอช เพราะชื่อดีทแฮล์มนั้นเป็นที่รู้จักกันในประเทศไทยเกือบจะครบ 1 ศตวรรษเข้าไปแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2548)
7-Eleven's Growth Business
เคาน์เตอร์เซอร์วิสเริ่มต้นอย่างล้มลุกคลุกคลาน มีผลการดำเนินงานขาดทุนอยู่หลายปี แต่หลังจากนั้นกลับมีการขยายตัวอย่างรวดเร็วจนมีจำนวนจุดให้บริการแซงหน้าร้าน 7-Eleven ยอดผู้ใช้บริการก็เพิ่มขึ้นแบบกาวกระโดด จนกลายเป็นธุรกิจที่สร้างอัตราการเติบโต
และผลกำไรให้กับ 7-Eleven อย่างมาก
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2548)
วิกฤติการณ์ของร้านขายของชำหรู
ถึงแม้จะเคยศึกษาในฝรั่งเศส หากก็เป็นนักเรียนบ้านนอก นักเรียนทุนไม่ค่อยได้สัมผัสสินค้าหรู หากได้ยินชื่อ โฟชง (Fauchon) อยู่เสมอ สินค้าเดียวของโฟชงที่เคยสัมผัสคือ ชา ซื้อทุกครั้งที่ไปท่องฮ่องกง ซื้อกระป๋องใหญ่และกระป๋องเล็กเป็นของฝากญาติมิตร
(นิตยสารผู้จัดการ 5 กรกฎาคม 2548)