"การทำธุรกิจคลื่นในห้วงอวกาศ"
การแข่งขันทางการค้าที่ทวีความรุนแรงขึ้นทำให้ภาคธุรกิจต้องสร้างความได้เปรียบเหนือคู่แข่งโดยเพิ่มความต้องการสื่อสารข้อมูลต่าง
ๆ ที่มีความรวดเร็วแม่นยำและถูกต้อง
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2535)
"ใครเป็นใครในธุรกิจสื่อสารข้อมูล"
ธุรกิจสื่อสารข้อมูลผ่านดาวเทียม เป็นบริการแบบใหม่ที่ได้รับความยอมรับจากผู้บริโภคมากขึ้นเนื่องจากคุณสมบัติของระบบที่ตอบสนองความต้องการด้านการสื่อสาร
และสามารถช่วยบรรเทาปัญหาการขาดแคลนระบบสื่อสาร ของภาคธุรกิจ ทำให้มีการคาดการณ์แนวโน้มการเจริญเติบโตของบริการรูปแบบนี้สูงมาก
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2535)
"ใครเป็นใครในทีวีดาวเทียม"
จานดาวเทียม เป็นอุปกรณ์รับเสียงและภาพจากดาวเทียม ซึ่งประเทศไทยมีมานานแล้วแต่จำกัดอยู่เฉพาะหน่วยงานราชการ
คือ กรมไปรษณีย์โทรเลข ซึ่งเป็นผู้ดำเนินงานรับและส่งสัญญาณผ่านดาวเทียม
ตั้งแต่วันที่ 6 เมษายน 2511 เป็นต้นมา
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2535)
"จานดาวเทียม กำไรดี และเติบโตแบบสุดสุด"
ทศวรรษก่อนนักธุรกิจมักมีความต้องการบริโภคข้อมูลข่าวสารที่รวดเร็วและรอบด้าน จานรับสัญญาณดาวเทียมจึงขายได้แต่เฉพาะกลุ่มเป้าหมายนี้ ในทศวรรษนี้ความต้องการบริโภคข่าวสารของผู้คนเริ่มเปลี่ยนแปลง นับจากเกิดเหตุการณ์นองเลือดเพื่อเรียกร้องประชาธิปไตย การแปรเปลี่ยนพฤติกรรมเช่นนี้ได้กลายเป็นสิ่งกระตุ้นให้อนาคตของตลาดจานรับสัญญาณดาวเทียมเติบโตเกิน 100% เพียงแค่ช่วงเวลาไม่กี่วัน แต่ใครจะชนะในธุรกิจนี้อยู่ที่คุณภาพของชิ้นส่วนรับสัญญาณและราคา"
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2535)
"ชินวัตรปะทะล็อกซเล่ย์ ใครจะแข็งกว่ากัน"
การเผชิญหน้าระหว่างชินวัตรกับล็อกซเล่ย์เกิดขึ้นอีกครั้งในโครงการโทรศัพท์ภูมิภาค
1 ล้านเลขหมาย การต่อสู้ครั้งนี้เป็นฉากพิสูจน์ความแข็งแกร่งทางการเงินระหว่างกลุ่มธุรกิจยักษ์ในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมไทย
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2535)
"ปรีชาทำอะไรในกลุ่มซีพี"
เมื่อซีพีสามารถเข้าสู่การเป็นผู้ดำเนินการโทรศัพท์ 2 ล้านเลขหมายได้ นั่นหมายถึงการก้าวเข้าสู่ธุรกิจโทรคมนาคมอันเป็นเป้าหมายทางธุรกิจใหม่ของซีพีที่ไม่ได้มุ่งเฉพาะแต่เพียงในประเทศไทยเท่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2535)
ช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของสามารถกรุ๊ป
ทิศทางของสามารถกรุ๊ปได้ถูกกำหนดไว้แล้ว หลังการตัดสินใจเข้าสู่ธุรกิจโทรคมนาคมอย่างจริงจังเมื่อ
5 ปีก่อนการเพิ่มขึ้นของรายได้จาก 100 ล้านเป็น 2,000 ล้านในปีนี้เป็นปัจจัยแห่งความสำเร็จที่ไม่อาจปฏิเสธได้
การถลำลึกสู่เทคโนโลยีที่หยุดนิ่งไม่ได้เช่นนี้ การลงทุนจึงมีบทบาทสำคัญต่อการขยายธุรกิจในอนาคต
นั่นคือเหตุผลประการสำคัญที่ทำให้สามารถกรุ๊ปจำเป็นต้องหาแหล่งระดมเงินทุนที่ดีที่สุดในประเทศ
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2535)
จุดขายเพจจิ้งอยู่ที่เครือข่ายบริการ
ตลาดเพจจิ้งมูลค่า 140,000 เครื่องต่อปีกำลังก้าวไปไกล 3 ค่ายผู้นำเข้าต่างฝ่ายต่างนำเทคโนโลยีที่ล้ำนำหน้าเขตฟาดฟันแข่งขันเป็นจุดขายที่มั่นคง
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2534)
อึดใจในมุมมืดของวรศักดิ์ วรภมร
ในยุคของรัฐบาลเทคโนแครตที่มีแต่การค้าเสรีในหัวใจ ทำให้นักธุรกิจที่เคยได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐบาลในลักษณะกึ่งผูกขาดมาตลอด 5 ปีของอายุสัมปทานเพียงลำพังถึงกลับต้องสาละวนอยู่ในมุมมืดที่รอวันฟ้าสว่างเพียงแค่เผลอใจ คู่แข่งสำคัญก็กวาดตลาดกินเรียบจนตั้งตัวไม่ทัน
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2534)
กฎหมายเรื่องการสื่อสารกับความก้าวหน้าของประเทศ: รัฐคิดเอาหุ้นลมมาแลกด้วยไหม ??
สุธรรม อยู่ในธรรมเป็นนักกฎหมายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดที่มาวาจาเฉลียวแหลมอันมาจากความรู้
และสมองอันปราดเปรื่อง เขาเป็นนักวิชาการที่มีจำนวนไม่กี่คนที่ออกมาให้ความเห็นเรื่องโทรศัพท์บริษัทซีพี
และมีนักวิชาการเพียงคนเดียวที่พูด และเรียกร้องให้มีการร่างกฎหมายการสื่อสารขึ้นมาใช้อย่างเป็นเรื่องเป็นราวในเมืองไทย
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2534)