วิกฤตบุคลากรโทรคมนาคม มีเงิน มีงาน แต่ไม่มีคน
เมื่อปัญหาเงินเดือน ค่าจ้างแรงงาน สวัสดิการ ผลตอบแทน กลับมาเป็นประเด็นหลักของการไหลของบรรดาบุคลากรโทรคมนาคม จากรัฐสู่เอกชนและจากเอกชนบริษัทหนึ่งสู่อีกบริษัทหนึ่ง โดยเฉพาะกับบริษัทที่ทำธุกริจด้านโทรคมนาคมในปัจจุบัน
ความต้องการบุคลากรที่อยู่เหนือความสามารถที่รัฐพึงจะสนองให้ได้นำมาสู่ความวิบัติของบุคลากรโทรคมนาคมหรือไม่
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2537)
"โครงการ 2 ล้านเลขหมาย ไม่ต้องขุดถนนก็ได้ แต่แพง !"
ผิวถนนในกรุงเทพมหานครนั้น ไม่เคยว่างเว้นจากการถูกขุดเจาะจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กับระบบสาธารณูปโภคทั้งหลายไม่ว่าจะเป็นการไฟฟ้า การประปาหรือองค์การโทรศัพท์
ซึ่งต่างคนต่างทำ ไม่เคยมีการวางแผนประสานกันเลย จึงเกิดการขุดกันแล้วขุดกันอีก
ชั่วนาตาปีและที่มีผลกระทบอย่างมากก็คือการจราจรที่ติดขัดอยู่แล้วยิ่งต้องเลวร้ายหนักลงไปอีก
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2537)
"สมาคมสื่อสารดาวเทียม แผนพิชิตกองทัพมด"
นับวันจานดาวเทียมจะเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของทุกคนมากขึ้น การแข่งขันในตลาดสินค้าประเภทนี้ก็ยิ่งเขม็งเกลียวตามไปด้วย และในเมื่อเป็นตลาดเสรี ก็เป็นธรรมดาอยู่เองที่แต่ละค่ายจานดาวเทียม จะต้องพยายามงัดเอาเขี้ยวเล็บต่าง ๆ ที่ตัวเองมีอยู่โดยเฉพาะกลยุทธ์ที่มีการเชือดเฉือนกันสุดขีดในช่วงที่แล้วมาจนมีที่เจียนไปเจียนอยู่ก็หลายราย
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2537)
"ธุรกิจโทรคมนาคมการเคลื่อนย้ายอำนาจจากรัฐสู่เอกชน"
ภายใต้กระแสของความเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจทั้งภายใน และภายนอกประเทศที่ขยายตัวอย่างรวดเร็ว
แต่ละสังคมปรับเปลี่ยนเป็นสังคมที่ต้องการบริการเพิ่มขึ้น การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีได้ทำลายพรมแดนเก่า
ๆ ลงทั่วทั้งโลก หรือที่เรียกกันว่าเป็นยุคแห่งโลกานุวัตร โดยเฉพาะด้านการสื่อสารโทรคมนาคมที่มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็วในเทคโนโลยี
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2537)
"เส้นทางการแปรรูปรัฐวิสาหกิจไทย"
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2504-2509) กำหนดไว้ในเงื่อนไข
ห้ามรัฐประกอบกิจการขึ้นใหม่เพื่อแข่งขันกับเอกชน ยกเว้นกิจการอุตสาหกรรมให้ร่วมทุนหรือขายให้เอกชนไปได้
และสามารถยึดรูปแบบการค้าเสรีโดยให้เอกชนดำเนินได้เฉพาะการด้านพาณิชยกรรมเท่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2537)
"กลยุทธ์แอเรียนสเปซ : ย้ำความครบครันครบวงจร"
18 ธันวาคม 2536 ถือเป็นวันประวัติศาสตร์ด้านโทรคมนาคมของไทย เมื่อดาวเทียมดวงแรกที่ชื่อว่า
"ไทยคม 1" ได้ทะยานขึ้นสู่ห้วงอวกาศความสำเร็จในวันนั้นนอกเหนือจากอานิสงส์ของ
ผู้อยู่เบื้องหลังอย่างกระทรวงคมนาคม บริษัท ชินวัตรแซทเทลไลท์ จำกัด แล้ว
บริษัทผู้รับหน้าที่ส่งดาวเทียมเช่น แอเรียนสเปซ (ARIANESPACE) ก็มีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2537)
สามารถฯ รุกคืบ สู่ธุรกิจครบวงจร
การเข้าไปถือหุ้นในบริษัทยีเอสเอส อาร์เรย์ เทคโนโลยี จำกัด (GSS) จำนวน
20% ของบริษัทสามารถ คอร์ปอเรชั่น นับเป็นจังหวะก้าวสำคัญในความพยายามที่จะขยายเข้าสู่ความเป็นผู้ผลิตที่มีเทคโนโลยีชั้นสูงมากขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2537)
"TA จ้าวไฮเวย์อิเล็คโทรนิคส์"
โครงการโทรศัพท์ 2 ล้านเลขหมายในกรุงเทพ ของเทเลคอมเอเซีย ไม่ใช่แค่โทรศัพท์ธรรมดา
!! ด้วยเทคโนโลยีการสื่อสารที่ทันสมัยที่สุดของโลก และด้วยสายตาที่ยาวไกลมองทะลุถึงความหมายของธุรกิจการสื่อสารในโลกปัจจุบัน
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2537)
"อาณาจักร ทีเอ."
บริษัทนิลุบล จำกัด ถือหุ้นโดยบริษัทเทเลคอม โฮลดิ้ง 99.99% ของทุนจดทะเบียน
100 ล้านบาท ทำหน้าที่จัดซื้อที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง สำหรับใช้เป็นสถานที่ในการติดตั้งอุปกรณ์เครื่องชุมสาย
(RCU) ในโครงการโทรศัพท์ 2 ล้านเลขหมาย
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2537)