ทุนสื่อสาร การเคลื่อนทัพของเงินและอำนาจ
ในช่วงเวลาไม่ถึง 10 ปีมานี้ ทุนสื่อสารได้เติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว แซงหน้ากิจการที่เคยทรงอิทธิพลในอดีตอย่างเกษตรกรรม อุตสาหกรรม อสังหาริมทรัพย์ อย่างไม่ติดฝุ่น
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2538)
ทุนสื่อสารเคลื่อนทัพ : ความหวั่นวิตกของทรัพย์สินฯ
หากจะตั้งคำถามกับ จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ในฐานะประชาชน สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ว่า
คิดอย่างไรถึงได้ไปลงทุนในธุรกิจสื่อสารมากมายจิรายุก็อาจจะตอบดังเช่นที่เคยตอบหลายครั้งว่า "ไม่มีอะไร สำนักงานทรัพย์สินฯ เป็นเพียง silent partner"
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2538)
หมดยุคทหารครองคมนาคม ถนนทุกสายมุ่งสู่การเมือง
บริการสื่อสารโทรคมนาคมของไทย จะอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของกระทรวงคมนาคม
ซึ่งมีหน่วยงานรัฐภายใต้สังกัด 3 แห่ง คือ กรมไปรษณีย์โทรเลข องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย
(ทศท.) และการสื่อสารแห่งประเทศไทย (กสท.) ทำหน้าที่ให้บริการสื่อสารโทรคมนาคมประเภทต่างๆ
แก่ประชาชน รวมทั้งออกใบอนุญาตให้กับเอกชนเข้ามาลงทุนขยายบริการในลักษณะของสัมปทานในบางโครงการ
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2538)
ธุรกิจโทรคมนาคมในประเทศไทย : ภาคการเมือง
Gerald R. Faul Haleer เป็นบุคคลแรกที่ให้ความรู้กับผมว่าตั้งแต่ Alexander
G.Bell ประดิษฐ์โทรศัพท์เครื่องแรกในโลก นอกจาก Bell จะสูญเสียผลประโยชน์จากกฎหมายสิทธิบัตร
(Patent) ที่คุ้มครองโทรศัพท์ซึ่งเป็นสิ่งประดิษฐ์ของเขาไม่ได้เท่าที่ควรอันสืบเนื่องมาจากความใหม่ของกฎหมายว่าด้วยสิทธิบัตรเวลานั้น
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2538)
"เพราะผมจะผลักดันประเทศไทย ไม่ใช่ยูคอม"
บุญชัย เบญจรงคกุล ประธานกรรมการบริหารกลุ่มยูคอม อีกหนึ่งในยักษ์ใหญ่ของวงการโทรคมนาคมที่ประกาศตัวลงสู่สนามการเมือง หลังจากที่ดร.ทักษิณ ชินวัตร ได้ใช้เวลา 101 วันไปกับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศไปแล้ว การประกาศเจตนารมณ์ของบุญชัยในครั้งนี้ จึงไม่ใช่เรื่องธรรมดา
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2538)
ชินวัตร จัสมิน ทีเอ ยูคอม รบในไทยไม่พอต้องไปต่อที่อินเดีย
อินเดีย ดินแดนแห่งอารยธรรมเก่าแก่ของโลก มีพลเมืองมากกว่า 900 ล้านคน
กำลังกลายเป็นแม่เหล็กชิ้นใหญ่ ที่ดึงดูดทุนสื่อสารจากทั่วทุกมุมโลกให้หลั่งไหลเข้าในประเทศ
หลังจากนโยบายเปิดเสรีให้เอกชนเข้าไปลงทุนในกิจการโทรคมนาคม
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2538)
ชาญชัย จารุวัสตร์ ยกเครื่องสามารถเทเลคอม
เมื่อต้นปี 2537 สามารถเทเลคอม สร้างความฮือฮาโดย การเข้าไปถือหุ้นในบริษัท
ยีเอสเอส อาร์เรย์ เทคโนโลยี จำกัด คนในวงการต่างมองว่า เป็นก้าวจังหวะใหม่ของสามารถฯที่จะขยายเข้า
สู่ความเป็นผู้ผลิตที่มีเทคโนโลยีชั้นสูงมากขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2538)
คอลล์แบ็ค กสท.ภาคเอกชน
" คอลล์แบ็ค " ( call back) หรือธุรกิจให้บริการติดต่อโทรศัพท์ระหว่างประเทศ
ระบบ " เรียกกลับสลับต้นทางอัตโนมัติ " อาศัยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
ทางการสื่อสาร ผนวกกับต้นทุนที่ถูกกว่าของเจ้าของเครือข่ายโทรศัพท์ทางไกลข้ามชาติในตต่างประเทศ
ดำเนินการให้บริการแข่งกับการสื่อสารแห่งประเทศไทย (กสท) ซึ่งโดยอำนาจตามกฎหมาย
เป็นผู้ผูกขาดบริการนี้ไว้แต่เพียงผู้เดียว
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2537)
ฟิวเจอร์ ไฮแทค แจ็คผู้ฆ่ายักษ์
เมื่อยักษ์ใหญ่ในด้านธุรกิจโทรคมนาคม อย่างไทยและต่างประเทศ อย่างชินวัตร ยูคอม
หรือมิตซุย ต้องมาถูกบริษัทที่ไม่เคยรู้จักมาก่อนอย่าง " ฟิวเจอร์ไฮเทค"
มาตัดหน้าใน 2 ดครงการจากองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ( ทศท) ,ทำให้เป็นที่สนใจของคนในวงการว่าฟิวเจอร์ไฮเทคเป็นใครมาจากไหน
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2537)
ไทยเคเบิ่ลวิชั่น มางด่วนข้อมูล มาแล้ว
โครงการเคเบิ้ลทีวี ของเทเบิ้ลทวีจะเปิดดำเนินงานอย่างเป็นทางการในปี 2538
โดยส่งสัญญานผ่านเครือข่ายไฟเบอร์ออฟิตคของโครงการโทรศัพท์สองล้านเลขหมายเข้าตามบ้าน
การเข้ามาในธุกริจเคเบิ้ลทีวีของน้องใหม่ ฟอร์มใหญ่รายนี้ ทำให้วงการนี้ต้องสั่นสะเทือน
ผู้มาก่อนต้องตั้งการ์ดเตรียมตอบโต้กันขนานใหญ่
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2537)