แอลสตาร์ในสายฝน
ตำแหน่งของแอล-สตาร์ คือ 116 องศาตะวันออก ข้อเด่นคือเป็นดาวเทียมที่ออกแบบมาทางด้านบรอดคาสติ้งโดยเฉพาะ
และสามารถบีบลำแสงให้ตกลงในบริเวณที่ต้องการ 3 ส่วน
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2540)
ภูษณ ปรีย์มาโนช 'ล็อบบี้ยิสต์' แห่งค่ายยูคอม
"ความถูกต้อง เหตุผล และความยุติธรรมไม่ใช่บ่อเกิดความสำเร็จ เมืองไทยต้องรู้จักคน
KNOW WHO BETTER THAN KNOW HOW" วลีสั้น ๆ ของ ภูษณ ปรีย์มาโนช อดีตรองประธานกรรมการบริหารที่สามารถสะท้อนให้เห็นถึงสัจธรรมการทำธุรกิจสื่อสารที่ผ่านมาที่ใครก็ไม่อาจปฏิเสธได้
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2540)
เจษฎา วีรพร เมื่อเลนโซ่ต้องเล่นบทนักซื้อกิจการ
ในที่สุดเลนโซ่เพจจิ้งผู้ให้บริการวิทยุติดตามตัวภายใต้ชื่อ "อีซี่คอล" ก็ตัดสินใจเข้าซื้อกิจการวิทยุติดตามตัวของแพ็คลิ้งค์ ประเทศไทย ซึ่งเป็นผู้ให้บริการวิทยุติดตามตัวรายแรกของเมืองไทยอย่างเป็นทางการ
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2539)
วิธีรวยของลูเซ่นแยกตัวจาก เอทีแอนด์ที
ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องธุรกิจ, การเมืองหรือสงคราม บางครั้งความใหญ่โตเกินไป ก็สร้างปัยหาได้อย่างไม่น่าเชื่อ นี่เป็นเหตุทำให้ เอทีแอนด์ที (ไทยแลนด์) อิ๊งค์ จำต้องแยกตัวออกมาเป็นบริษัทใหม่ชื่อ ลูเซ่น เทคโนโลยีส์ ไทยแลนด์ อิ๊งค์ โดย เอทีแอนด์ที ไม่ได้ถือหุ้นแม้แต่นิดเดียว
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2539)
แก้สัญญา 12 ข้อออกฤทธิ์ เอไอเอสเปิดศึกโทรศัพท์ไร้สาย
แม้ว่าการเดินสู้เส้นทางการเมืองเพื่อปกป้องธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมในมือของ
ดร.ทักษิณ ชินวัตรดูจะไร้ผล เพราะตลอดช่วงอายุของรัฐบาลชุดที่แล้ว กลุ่มชินวัตรต้องเป็นฝ่ายนั่งมองดูเทเลคอมเอเชีย
คอร์ปอเรชั่น หรือ ทีเอกอบโกยสัมปทานสื่อสารมาไว้ในมือเป็นจำนวนมากอย่างไม่สามารถทำอะไรได้
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2539)
ติดโทร 4.1 ล้านเลขหมายเสร็จแค่จุดสตาร์ทของทีเอและทีทีแอนด์ที
แม้ว่าเทเลคอมเอเชีย คอร์ปอเรชั่น จำกัด หรือทีเอ และไทยเทเลโฟน แอนด์ เทเลคอมมิวนิเคชั่น
จำกัด หรือทีทีแอนด์ที จะสามารถส่งมอบโทรศัพท์จำนวน 4.1 ล้านเลขหมายได้ทันตามกำหนดที่
ทศท. ขีดเส้นตายเอาไว้ในวันที่ 30 กันยายน 2539 ที่ผ่านมา แต่ไม่ได้หมายความว่า
ภารกิจของทั้งทีเอและทีทีแอนด์ทีจะสิ้นสุด แต่กลับเป็นเพียงแค่การเริ่มต้นเท่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2539)
ทองฉัตร หงส์ลดารมภ์ ประสานประโยชน์ผู้ถือหุ้นใน TT&T
"ดร.ทองฉัตร หงส์ลดารมภ์" เข้ามารับตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ ตำแหน่งใหม่ใน TT&T นอกจากจะเป็นอีกก้าวของการเข้าสู่งานเทเลคอมฯ ที่ท้าทายสำหรับตัว ดร.ทองฉัตร เอง หลังจากที่มีผลงานมามากในธุรกิจพลังงาน ดร.ทองฉัตร ยังถูกมองว่า เข้ามาลดแรงเสียดทานระหว่างบทบาทของ ดร.อดิศัย โพธารามิก และกลุ่มล็อกซเล่ย์ ผู้ถือหุ้นอันดับ 2 ของ TT&T
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2539)
กิตติ กีรติธรรมกุล ทัพหน้าเอาใจนักลงทุนหุ้นซีพี
กิตติ กีรติธรรมกุล เพิ่งมาเป็นน้องใหม่ของบริษัทเทเลคอมเอเซีย ในเครือเจริญโภคภัณฑ์ หรือที่เรียกกันง่าย ๆ สั้น ๆ ว่า ซีพี ได้ไม่นานในตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักลงทุนสัมพันธ์ (VICE PRESIDENT INVESTOR RELATIONS OFFICE) ซึ่งหน่วยงานนี้เพิ่งเปิดมาได้ประมาณ3 ปีเล็กน้อย แต่ก็ถือว่าใหม่สำหรับในประเทศไทยที่มีหน่วยงานที่ตั้งขึ้นมา นับได้ในบริษัทชั้นนำของประเทศไทยที่จะมีหน่วยงานแบบนี้นับได้คงไม่เกิน 3 แห่ง
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2539)
เจริญรัฐ วิไลลักษณ์ โอกาสในเขมรที่มีมากกว่าในเมืองไทย
แม้ว่ากลิ่นอายของสงครามล้างเผ่าพันธุ์ที่สร้างความสะเทือนมาเกือบ 20 ปี อาจยังไม่หลงเหลือให้เห็นอยู่ในกรุงพนมเปญของกัมพูชาแล้วก็ตาม ยกเว้นสถานที่บางแห่งที่กลายเป็นตำนานความโหดร้ายยังคงตราตรึงอยู่ในความทรงจำอันขมขื่นของชาวเขมร
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2539)
สร้างกำแพงกั้นทีเอ Mission Impossible ของยูคอม ?
ระยะ 2-3 เดือนมานี้ในช่วงเย็นย่ำของวันทำงาน ภูษณ ปรีย์มาโนช คีย์แมนคนสำคัญของกลุ่มยูคอมมีโอกาสได้ต้อนรับขับสู้เหล่าบรรดากุนซือของพรรคความหวังใหม่ ไม่ว่าจะเป็น สมบัติ อุทัยสาง, ไพศาล พืชมงคล, พล.อ.ศิรินทร์ ธูปกล่ำ บนชั้น 10 ของสถาบันศศินทร์ ซึ่งถูกจัดเป็นชั้นสำหรับห้องอาหารจีน และฝรั่งเศสที่ได้รับการตกแต่งเป็นอย่างดี
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2539)