ขึ้นสู่ฐานส่งออก "มิตซูบิชิ" แลกกับการปิดตลาดในไทย!?
ทันทีที่ มิตซูบิชิ มอเตอร์ส คอร์ปอเรชั่นแห่งประเทศญี่ปุ่นแถลงข่าวถึงผลประกอบการในรอบหนึ่งปีที่ผ่านมา
ด้วยแนวโน้มว่าอาจต้องปิดโรงงานผลิตรถยนต์ปิกอัพที่ลาดกระบัง แต่นั่นไม่ใช่เรื่องสำคัญนัก
ยังมีเรื่องน่าขบคิดที่สำคัญจนดูแปลกยิ่งกว่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2541)
"มิตซูบิชิ มอเตอร์ บุกไทย กลับเป็นชัยชนะของ"พรรณเชษฐ์"
การเข้ามาของมิตซูบิชิ มอเตอร์แห่งประเทศญี่ปุ่น ในการครอบงำกิจการของเอ็มเอ็มซี
สิทธิผลนั้น แม้จะยังคลุมเครือในเรื่องของตัวเลขว่าสุดท้ายแล้วญี่ปุ่นจะถืออยู่เท่าไรและฝ่ายไทยจะเหลือไว้เท่าไร
แต่ขณะนี้ก็น่าจะได้บทสรุปว่า ไทยจะกลายเป็นฐานบัญชาการสำคัญของมิตซูบิชิ
มอเตอร์ ในระดับโลก ในอีกไม่กี่วันข้างหน้า
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2540)
อุตสาหกรรมรถยนต์ไทย พัฒนาไปถึงไหนแล้ว?
หลังจากที่มีการประกาศสร้างฐานการผลิตของบริษัทรถยนต์ยักษ์ใหญ่ค่ายต่าง
ๆ ในประเทศไทย รวมทั้งการขยับขยายของบริษัทตัวแทนจำหน่ายรถยนต์ยี่ห้อต่าง
ๆ ทำให้เกิดความคึกคักขึ้นมากในตลาดนี้ แม้ว่ายอดขายรถยนต์ในปีนี้จะลดต่ำลงด้วยเหตุผลหลักด้านภาวะเศรษฐกิจ
แต่ในระยะยาวนั้น คาดว่าประเทศไทยจะมีอัตราการผลิตรถยนต์สารพัดยี่ห้อเพื่อการส่งออกในอัตราสูงติดอันดับโลก
เรื่องโดย กองบรรณานิการ
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2540)
"เอ็มเอ็มซี สิทธิผล สู่อนาคตที่ยังเลือนลาง แต่ยังต้องไป!"
เมื่อเอ็มเอ็มซี สิทธิผล ก้าวขึ้นเป็นฐานกรผลิตหลักของมิตซูบิชิ มอเตอร์ คอร์ป น่าสนใจว่า ทางเดินต่อจากนี้จะเป็นอย่างไร และแท้จริงแล้ว ญี่ปุ่นมองฐานการผลิตในไทยไว้ระดับใด ที่มั่นใจว่าจะผงาดขึ้นเป็นเบอร์หนึ่งของภูมิภาคนี้ได้นั้น ในชั้นนี้ จะฉกฉวยความได้เปรียบไว้ได้มากน้อยแค่ไหน ลำพังการส่งออกก็ใช่ว่าจะสำเร็จได้โดยง่าย ยิ่งสถานการณ์ของ มิตซูบิชิ ในไทยตกต่ำอย่างมากด้วยแล้ว การพลิกฟื้นสถานภาพจะทำได้หรือไม่เหล่านี้ วัชระ พรรณเชษฐ์ เตรียมแผนงานไว้มากทีเดียว
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2539)
"ปัญหาคาใจ "วิญญาณ ร่างกาย" ญี่ปุ่นจะให้ไทยอย่างไร?
สำหรับฐานการผลิตในนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง ซึ่งเป็นโรงงานแห่งที่ 4 ของเอ็มเอ็มซี
สิทธิผล นั้น กล่าวได้ว่า ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตรถยนต์ปิกอัพมาจากมิตซูบิชิ
มอเตอร์ส คอร์ปอเรชั่น เกือบจะทุกด้าน จะขาดก็เพียงงานวิจัยและพัฒนาเท่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2539)
เยอรมันนีฐานบริษัทเอเชีย สู่อีซี 1992
ไม่ว่าจะเอามาตราฐานอะไรมาวัด งานแสดงสินค้า C&BIT ที่จัดขึ้นทุกเดือนมีนาคมของทุกปี
ในเมืองแฮโนเวอร์ เยอรมนี ก็เป็นมหกรรม ที่ที่ทรงไว้ซึ่งความสำคัญเสมอ จากการที่ที่มีผู้เข้าชม
สินค้าจาก 40 ประเทศราวครึ่งล้านคนเป็นประจำ
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2534)
ญี่ปุ่น-จีน-เกาหลี-ไต้หวัน กำลังเร่งสร้างพลังงานปรมาณู
“ญี่ปุ่น-จีน-ไต้หวัน-เกาหลี กำลังเร่งสร้างโรงงานพลังงานปรมาณูกันอย่างขมันขันแข็งเพื่อนำพลังงานที่ต้องพึ่งน้ำมัน ฯลฯ ในขณะที่ชาติต่างๆ ทางตะวันตกกำลังเริ่มจะยุติ แต่อัตราส่วนการเพิ่มทางเอเชียกลับพุ่งมากขึ้น และปัจจุบันญี่ปุ่นที่เคยเกลียดปรมาณูกลับเป็นฝ่ายต้องถ่ายทอดเทคโนโลยีทางปรมาณูให้กับสหรัฐอเมริกา”
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2527)