กรณีศึกษาชุมชนซอยหวั่งหลี ทำลายหรือจัดสรรพื้นที่ประวัติศาสตร์ธุรกิจ?
กรณีศึกษาเกี่ยวกับชุนชนซอยท่าเรือหวั่งหลีแห่งนี้ถือว่าเป็นเรื่องราวที่มีคุณค่าความสำคัญต่อประวัติศาสตร์ธุรกิจการค้าของไทยและการอพยพตั้งถิ่นฐานในไทยของชาวจีนโพ้นทะเล ตั้งแต่ยุคค้าเรือสำเภาจนถึงยุคเรือกลไฟ นี่คือประตูแรกสู่สยามประเทศ เป็นพื้นที่ประวัติศาสตร์เก่าแก่ที่สุดที่ยังมีชีวิตจิตวิญญาณและรากเหง้าอยู่ แต่ขณะนี้ต้องตกอยู่ในห้วงอันตรายจากความไม่รู้ค่า!!
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2550)
บทด.เรือวนในอ่าง วิตกจริตต่างด้าวฮุบกิจการ
บริษัท ไทยเดินเรือทะเล จำกัด เป็นรัฐวิสาหกิจ อีกแห่งหนึ่งที่ยังไม่สามารถหาเอกชนเข้ามาร่วมทุนได้อย่างแท้จริง
ด้วยความขัดแย้งในการตั้งสายการเดินเรือ แห่งชาติ (ไทย) แต่ต้องอาศัยบริษัทเรือเอกชนต่างประเทศมาช่วย การประมูลเพื่อขายหุ้น บทด. เพื่อการแปรรูปนั้นมีความชัดเจนเป็นครั้งแรกในรัฐบาลของอานันท์
ปันยารชุน และมีผลต่อเนื่องมาจนถึงรัฐบาล ชวน หลีกภัย ในช่วงต่อเนื่องกัน
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2541)
อนุศักดิ์ อินทรภูวศักดิ์ ผู้อยู่เบื้องหลังโครงการโฮปเวลล์
อนุศักดิ์ มีสายสัมพันธ์ทางธุรกิจที่เชื่อมโยงกับกอร์ดอนหวู่ (GORDON WU)
นักธุรกิจใหญ่ชาวฮ่องกงผู้เป็นเจ้าของโครงการสร้างทางรถไฟยกระดับที่ชื่อว่า
"RAMTUFS" (RAILWAY MASS TRANSIT COMMUNITY TRAIN & URBAN
FREEWAY SYSTEM) ของโฮปเวลล์มูลค่าไม่ต่ำกว่าแปดหมื่นล้านบาท
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2534)
บริษัทไทยเดินเรือทะเล ถึงเวลาปลดระวางได้แล้ว
ครั้งหนึ่งเมื่อปี 2483 รัฐวิสาหกิจประเภทไม่ผูกขาดที่มีชื่อว่า "บริษัทไทยเดินเรือทะเล" หรือ "บทด." สังกัดกระทรวงคมนาคมที่รัฐบาลถือหุ้นร้อยเปอร์เซ็นต์ได้ชื่อว่าเป็นสายการเดินเรือแห่งแรกของไทย ได้รับสิทธิและประโยชน์ในการขนส่งทะเลเกี่ยวกับสินค้าของทางการเช่น การขนอาวุธยุทโธปกรณ์ให้กองทัพไทย ใบยาสูบ เครื่องจักร
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2534)