ธ.ก.ส. บทพิสูจน์ฐานรากภาคเกษตร
หนี้ ปัญหาตลอดกาลของเกษตรกรและเป็นปมเขื่องของรัฐบาลทุกยุคทุกสมัยจนป่านนี้ก็ยังแก้ไม่ตก
ยิ่งเศรษฐกิจเฟื่องฟูหนี้ยิ่งพอกพูนแต่เมื่อเศรษฐกิจฟุบ เสียงร้องขอความช่วยเหลือก็ดังกระหึ่มกึกก้องไปทั่ว
ธ.ก.ส.ในฐานะเจ้าหนี้รายใหญ่ของเกษตรกรต้องตกเป็นจำเลยครั้งแล้วครั้งเล่า
เพราะสถานภาพแบงก์แห่งรัฐที่มีหน้าที่ต้องจัดการเรื่องนี้โดยตรง แต่บัดนี้
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2541)
"บัตรออมทรัพย์ทวีสิน ยุทธวิธียิงปืนนัดเดียวของ ธ.ก.ส."
ขึ้นชื่อว่าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรหรือ ธ.ก.ส. เชื่อว่ามีคนเมืองจำนวนไม่น้อยที่ยังไม่รู้จักธนาคารของรัฐแห่งนี้ดีพอ นอกเหนือจากเป็นแบงก์ของเกษตรกรคนยากเท่านั้น และดูเหมือนจะเป็นแดนสนธยาที่คนในเมืองไม่กล้าเข้าไปกล้ำกราย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2540)
ผ่าตัดใหญ่ ธ.ก.ส.
เร็ว ๆ นี้จะเกิดความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
(ธ.ก.ส.) แหล่งเงินทุนราคาถูกสำหรับเกษตรกร ชาวนาชาวไร่และบรรดาหัวคะแนนของอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหลาย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2534)
สารวัตรประเสริฐ จันทราพิพัฒน์ คนชอบทำคดียากๆ
พันตำรวจโทประเสริฐ จันทราพิพัฒน์ เป็นคนเชียงใหม่ เกิดเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2490 คุณพ่อเป็นข้าราชการ ชื่อพิพัฒน์ คุณแม่ยึดอาชีพค้าขาย ชื่อจันทรา
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2528)
โครงการหมู่บ้านเกษตรกรรมกำแพงเพชร
ชาวนาหรือเกษตรกรที่ได้ชื่อว่าเป็นกระดูกสันหลังของชาติจำนวนเกินกว่าครึ่งของประชากรของประเทศ
เกษตรกรเหล่านี้ทำการเพาะปลูกบนพื้นแผ่นดินนี้มาตั้งแต่บรรพบุรุษสืบทอดมาจนถึงลูกหลาน
ตั้งแต่ผืนดินทำกินที่กว้างใหญ่จนแทบไม่มีที่จะทำกินในปัจจุบัน
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2527)