วิกฤติบรรษัทฯ บทเรียนราคาแพงของ ศุกรีย์ แก้วเจริญ
"กระทรวงการคลังกับบรรษัทฯมีข้อตกลงผูกพันกันมานาแล้ว ในประเด็นการจ่ายเงินชดเชยผการขาดทุนจกอัตราแลกเปลี่ยนเมื่อข้อตกลงนี้ถูกปฏิบัติด้วยความเย็นชาด้วยเหตุผล
เพื่อต้องการเตือนให้ผู้บริหารบรรษัทฯหันมาตรวจสอบสถานภาพและบทบาทของตัวเอง
ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของภาวะแวดล้อมมากขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2532)
ณรงค์ชัย อัครเศรณี "เขามือไม่ถึงที่จะเป็นผู้จัดการทั่วไปบรรษัท"
ขณะที่กระแสข่าว บรรษัทนกำลังคึกโครมอยู่บนหน้าหนังสือพิมพ์ด้วยปัญหากระทรวงการคลังมีท่าทีเย็นชาต่อการหาทางออกให้บรรษัท
กรณีการขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน และขณะที่ศุกรีย์ แก้วเจริญ ผู้จัดการทั่วไป
และเป็นกรรมการบรรษัทอยู่ด้วยกำลังวิ่งพล่านพบคนโน้นทีคนนี้ที เพื่อขอความเห็นใจและเข้าใจในสิ่งที่เขาและผู้บริหารบรรษัททุกคนได้กระทำลงไป
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2532)
คลาสสิก เคส ของ ป.ต.ท. คูรด้านกลับที่ศุกรีย์ต้องรู้ไว้
สถานะทางการเงินของ ปตท. กับบรรษัทนอยู่ในสถานะที่เหมือนกันคือ ต่างก็ประสบปัญหาการขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศนับพันล้านบาทปี
2530 ปตท.ได้รายงานว่าขาดทุนอัตราแลกเปลี่ยนที่ตั้งไว้รอตัดบัญชีประมาณ 3,582
ล้านบาท หรือประมาณครึ่งหนึ่งของยอดขายทุนของบริษัท
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2532)
เหตุเกิดที่บรรษัท (IFCT) ความสับสนในบทบาทที่แท้จริง? หรือเป็นเพียงนิยายน้ำเน่า
หลังจากที่บรรษัทโดนมรสุมข่าวโหมกระหน่ำอย่างหนัก ตั้งแต่ต้นเดือนกรกฎาคมจนถึงกลางเดือนสิงหาคมก็ยังมีสื่อมวลชนบางฉบับกล่าวถึงอยู่ ภาพพจน์ของบรรษัทในฐานะสถาบันการเงินที่ได้รับความเชื่อถือในระบบการบริหารสมัยใหม่
มีนักบริหารมืออาชีพอยู่เต็มไปหมด เริ่มถูกตั้งข้อสงสัยในประสิทธิภาพเสียแล้ว?
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2531)