ศิริชัย บูลกุล ไม่มีวันที่จะยอมจำนน
ดูเหมือนจะมีคนเป็นจำนวนมากอยากจะให้มาบุญครองเซ็นเตอร์กลายเป็นอนุสรณ์ของศิริชัย
บูลกุล ไปจริง ๆ อย่างน้อยที่สุดก็คงจะเป็นบรรดาเจ้าหนี้ที่ร่วม "สามัคคีบีฑา"
เพื่อขจัดศิริชัยให้พ้นไปจากวงจรของมาบุญครองเสียที
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2531)
"ศิริชัย บูลกุล เหนียวกว่าที่คิด"
ศิริชัยเริ่มประสบปัญหาทางการเงินอย่างรุนแรงตั้งแต่กลางปี 2529 มีหนี้สินกว่า
2,000 ล้านบาท ในรายงานของผู้ตรวจสอบบัญชีประกอบงบการเงิน แสดงฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของบริษัทมาบุญครองอบพืชและไซโลจนถึงวันที่
30 มิถุนายน 2529 ระบุไว้ว่า บริษัทจะดำเนินกิจการต่อไปได้หรือไม่ขึ้นอยู่กับผลของการเจรจากับธนาคารและสถาบันการเงิน
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2531)
เมื่อสนอง ตู้จินดา ปะทะ ศิริชัย บูลกุล
ใคร ๆ ก็รู้จักสนอง ตู้จินดาในฐานะนักกฎหมายนักธุรกิจมือเอกของเมืองไทย
วันนั้น (4 พ.ย. 2530) สนองรับหน้าที่จากเจ้าหนี้คือธนาคารไทยพาณิชย์ให้เป็นผู้จัดการขายหุ้นจำนวน
3,787,465 หุ้นของบริษัทเครือข่ายมาบุญครอง 5 บริษัท
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2530)
มาบุญครอง ท่ามกลางความทุลักทุเล
ช่วงเดือนที่ผ่านมาเป็นอีกช่วงหนึ่งที่เรียกได้ว่า เป็นช่วงแห่งความทุลักทุเลและเป็นช่วงแห่งหัวเลี้ยวหัวต่อของมาบุญครอง
แม้ว่า ศิริชัย บูลกุล จะขายหุ้นที่มีอยู่ไปเกือบทั้งหมดแล้วก็ตาม แต่ปัญหาระหว่างเจ้าหนี้และกลุ่มผู้ถือหุ้นเดิมก็ยังมีให้เห็นอยู่เป็นระลอก
ๆ ให้เจ้าหนี้และศิริชัยได้ปวดหัวกันเล่น
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2530)
มาบุญครอง อนุสรณ์แห่งโชคชะตา ศิริชัย บูลกุล?
คนหนุ่มอายุราวๆ 40 ปีที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจ ก็ต้องนับว่ามีความสามารถ
ยิ่งถ้าคนหนุ่มคนนั้นดำเนินธุรกิจสามารถคว้ากำไรเข้ากระเป๋าอย่างเงียบๆ
สัก 400-500 ล้านบาท โดยใช้เวลาเพียงไม่กี่วันย่อมไม่ใช่เรื่องธรรมดา
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2529)
มาบุญครองหินอ่อนปมเงื่อนศิริชัย บูลกุล
เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2524 ผู้ถือหุ้นจำนวน 15 ราย ได้ตกลงใจกันตั้งบริษัทมาบุญครองหินอ่อนขึ้นเพื่อจำหน่ายหินอ่อน
โดยนำหินอ่อนมาจากประเทศอิตาลี และบางส่วนในประเทศมาแปรรูป
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2529)